พุทธวิธีการสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตวิญญาณในยุคโควิด 19

Main Article Content

นันทนา สุภาพคำ
ประยูร แสงใส

บทคัดย่อ

การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (โควิด 2019) ส่งผลกระทบต่อการดำเนินชีวิตของประชาชนในทางตรงและทางอ้อม ทั้งในระยะสั้นและระยะยาว ไม่ว่าจะเป็นการเจ็บป่วย การเสียชีวิต รายได้ของประชาชนลดลงซึ่งเกิดจากการว่างงานและการลดเวลาทำงาน อันเป็นผลมาจากมาตรการของภาครัฐที่จะมุ่งแก้ปัญหาและสกัดกั้นการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรน่า (โควิด 2019) ในสถานการณ์เช่นนี้ทำให้ความสุขในการดำเนินชีวิตประจำวันของประชาชนลดลง จากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นที่ส่งผลกระทบต่อสุขภาวะทางจิตวิญญาณเป็นวงกว้าง  เพราะสุขภาวะทางจิตวิญญาณเป็นพื้นฐานสำคัญในการพัฒนาสุขภาพทุกมิติของบุคคล อย่างไรก็ตามคนไทยส่วนใหญ่ซึ่งเป็นพุทธศาสนิกชน ได้นำหลักธรรมคำสอนทางพระพุทธศาสนาเป็นที่พึ่งและมาประยุกต์ใช้เพื่อสร้างเสริมสุขภาวะทางจิตวิญญาณ เพื่อความสมบูรณ์ของร่างกาย และจิตใจ รวมทั้งการดำรงชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างเป็นปกติสุข


 

Article Details

บท
Articles
Author Biography

ประยูร แสงใส, มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

Kalasin University

References

กรมสุขภาพจิต. (2563). ขอ 8 วัน กับ 8 โปรแกรมฝึก “สติ - สมาธิ” ช่วยปรับตัวปรับใจ

รองรับ“ชีวิตวิถีใหม่” ลดเครียดจากไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด - 19). สืบค้นจาก

https://www.dmh.go.th/news-dmh/view.asp?id=30315 วันที่ 25สิงหาคม 2564

กรมสุขภาพจิต. (2564). สมาธิสำหรับทุกคน. สืบค้นจาก https://www.dmh.go.th/news/

view.asp?id=1225 วันที่ 25 สิงหาคม 2564

ฐินีรัตน์ ถาวร, สาธกา พิมพ์รุณ และวารีรัตน์ ถาน้อย.(2561).ปัจจัยที่สัมพันธ์กับสุขภาวะทาง

จิตใจของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย.วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัย

มหิดล. 36 (3) (กรกฏาคม-กันยายน)

ประเวศ วสี.(2547).สุขภาวะ คุณค่า ศักดิ์ศรี คนพิการ.กรุงเทพฯ :มูลนิธิคนพิการไทย.

ประเวศ วะสี. (2556).รายงานการวิจัย เรื่องสุขภาวะของวัยรุ่น : กรอบมโนทัศน์และ

เครื่องมือประเมินทางจิตวิทยา. วารสารพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย

ศรีนครินทรวิโรฒ. 19 (2).

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2557).สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ.นครปฐม :วัดญาณ

เวศกวัน.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2559). การแพทย์ยุคใหม่ในพุทธทัศน์. พิมพ์ครั้งที่ 15.

กรุงเทพฯ:สหธรรมิก.

พระมหาจรรยา สุทฺธิญาโณ.(2544). พระพุทธศาสนากับการดูแลรักษาสุขภาพแบบองค์รวม,

พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ภูษิต ประคองสาย.(2559). การสาธารณสุขไทย 2554-2558. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การ

สงเคราะห์ทหารผ่านศึก.

ราชกิจจานุเบกษา เล่ม 124 ตอนที่ 16 ก. ลงวันที่ 19 มีนาคม พ.ศ.2550.

ราชบัณฑิตยสถาน.(2553).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2553.

วรวรรณ จันทวีเมืองและ ทรงฤทธิ์ ทองมีขวัญ.(2559).นักศึกษาพยาบาลกับการพัฒนาสุข

ภาวะทางจิตวิญญาณ.วารสารเครือข่ายวิทยาลัยพยาบาลและการสาธารณสุขภาคใต้.

(3) (กันยายน-ธันวาคม).

วรินทร์ลดา จันทวีเมืองและ ทรงฤทธิ์ ทองมีขวัญ. (2563). การศึกษาสุขภาวะทางจิต

วิญญาณในนักศึกษาพยาบาล.วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชียฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 10 (3) (กันยายน-ธันวาคม)

หทัย ชิตานนท์.(2551). นิยามศัพท์ส่งเสริมสุขภาพ.กรุงเทพฯ : บริษัท ดีไซร์ จำกัด.

Adams, T., Bezner, J., & Steinhardt, M. (1997). The conceptualization and

measurement of perceived wellness: Integrating balance across and within dimensions. American Journal of Health Promotion,11(3),208-18.

Anspaugh, D. J. Hamrick, M.H. & Rosato, F.D.(1997). Wellness : Concepts and

Applications. 3 rd ed. Boston : McGraw-Hill.

Edlin, G., Golanty, E&Brown, K. Mc. C. (2000). Essentials for Health and

Wellness.2nd ed. Sudbury : Uones and Bartlett. pp.4.

Fisher, J. W. (1998). Spiritual health: Its nature and place in the school

curriculum (Unpublished doctoral dissertation). University of

Melbourne, Australia.

Hahn, D.B.&Payne, W.A.(2001). Focus on Health. 5 th ed. New York : McGraw-

Hill. pp.12.

National Interfaith Coalition on Aging. (1975). Spiritual well-being. Athens, GA:

NICA.

World Health Organization. (1986). The Ottawa charter for health promotion.

First International Conference on Health Promotion, Ottawa, 21

November 1986. Retrieved from http://www .who. int/hpr/archive/does/ottawa.html

Myer, Sweeney, & Witmer(2000). A holistic model for treatment planning.

Journal of Counseling and development, 78(3),251-266.