การเสริมสร้างสวัสดิการทางการแพทย์ทางเลือกเชิงพุทธ สำหรับกลุ่มเปราะบางในสังคมไทย

Main Article Content

เกรียงศักดิ์ นิลทะการ
ประยูร แสงใส

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอการเสริมสร้างสวัสดิการทางการแพทย์ทางเลือกเชิงพุทธสำหรับกลุ่มเปราะบางในสังคมไทย แนวคิดเกี่ยวกับการดูแลสุขภาพ หลักการแพทย์ทางเลือกเชิงพุทธ ในการฟื้นฟูสุขภาพร่างกาย จิตใจและอารมณ์ การฟื้นฟูและการบำบัดด้วย สมาธิและภูมิปัญญาชาวบ้านที่ประยุกต์ใช้หลักการทางพระพุทธศาสนา การรักษาในทางพุทธศาสนา รวมทั้ง ภูมิปัญญา วิธีคิด พัฒนาการการก่อสร้างที่อยู่อาศัยในภูมิประเทศ ที่เหมาะสมสามารถนำมาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ สำหรับบริบทวิถีชีวิตในปัจจุบันและอนาคตของกลุ่มเปราะบางในสังคมไทย.


 

Article Details

บท
Articles
Author Biography

ประยูร แสงใส, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

References

กรมการแพทย์ทางเลือก.สืบค้นวันที่ 20 ธ.ค.64.จากเวปไซต์ https://thaicam.go.th/

กลุ่มงานพัฒนากฎหมาย สำนักกฎหมาย สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.(2560). รัฐธรรมนูญ

แห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ :สำนักงาน

เลขาธิการวุฒิสภา ปฏิบัติหน้าที่สำนักงานเลขาธิการสภานิติบัญญัติแห่งชาติ.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).(2557). สุขภาวะองค์รวมแนวพุทธ. นนทบุรี:

กองการแพทย์ทางเลือกกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

กระทรวงสาธารณสุข.

พระไพศาล วิสาโล. (2549).แลขอบฟ้าเขียว ทางเลือกสำคัญสำหรับอนาคตที่กำลังปรากฏ

เป็นจริง. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์โกมลคีมทอง.

พระมหาจรรยา สุทฺธิญาโณ.(2544).พระพุทธศาสนากับการดูแลรักษาสุขภาพแบบองค์

รวม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539).พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช

วิทยาลัย. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล.สืบค้นวันที่ 20 ธ.ค.64.

จากเวปไซต์ https://ipsr.mahidol.ac.th

สมาคมสิทธิเสรีภาพของประชาชน (สสส.). สืบค้นวันที่ 20 ธ.ค.64.จากเวปไซต์

http://ucl.or.th/?p=3495

สรุปสาระสำคัญแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่สิบสอง พ.ศ.2560 –

สืบค้นจาก สืบค้นวันที่ 20 ธ.ค.64.จากเวปไซต์

http://www.prachinburi.go.th.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี.

.สืบค้นวันที่ 20 ธ.ค.64.จากเวปไซต์ https://www.nesdc.go.th/

สัมฤทธิ์ ศรีธำรงสวัสดิ์. “The last mile of UHC in Thailand. Do we reach the

vulnerable” งานประชุมนานาชาติรางวัลสมเด็จเจ้าฟ้ามหิดล ประจำปี 2560.

Chancharupong. C. (2004). Effect of promotionof holistic health care on

quality of lifeof breast cancer patients undergoingchemotherapy.

Master’sThesis. HealthEducation. Srinakharinwirot Unniversity.

Institute for Population and Social Research.(2011). Thailand Health Profile

Bangkok: Amarin Printing and PublishingPublic Company Limited

Niyomsil. T. (2009). Alternative Medicine and Its Application. Journal of Thai

Traditionaland Alternative Medicine. 7(1). 63-70.

Prateepavanich. P. (2007). The Problem of Pain in Complementary and

Alternative Medicine. Journal of Thai Traditional and Alternative

Medicine. 5(3). 218-223.