นโยบายการบริหารกิจการสาธารณะยุคดิจิทัล

Main Article Content

อนุวัฒน์ ทองแสง
อนุพันธ์ เรืองพรวิสุทธิ์
ปุณณดา ทรงอิทธิสุข
โชติ บดีรัตน์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ เรื่องนโยบายการบริหารกิจการสาธารณะยุคดิจิทัล มีวัตถุประสงค์เพื่อ เตรียมความพร้อมของบุคลากรภาครัฐทั้งในเชิงการเพิ่มศักยภาพด้านดิจิทัลและสร้างความเข้าใจให้ยอมรับการเปลี่ยนแปลงรวมถึงการปรับวัฒนธรรมของข้าราชการ จากการปฏิรูปภาครัฐ สู่รัฐบาลดิจิทัลการสื่อสารและประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง และการมีส่วนร่วมของประชาชนมีการสื่อสารประชาสัมพันธ์และรับฟังความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยทุกฝ่ายต้องมีส่วนร่วมในการผลักดันโครงการและมีความเข้าใจในทิศทางเดียวกันการติดตามและประเมินผลการติดตามการดำเนินโครงการ อย่างต่อเนื่องและจริงจังโดยตอบสนองอย่างรวดเร็วเพื่อผลักดันโครงการให้เกิดผลตามแผนการดำเนินงานที่กำหนดไว้รวมถึงการผลักดันมาตรการเร่งด่วนให้มีผลเป็นรูปธรรมและเป็นแรงขับเคลื่อนโครงการแผนการดำเนินงานที่ขับเคลื่อนได้จริงการพัฒนารัฐบาลดิจิทัลควรมีแผนการดำเนินงานที่ชัดเจนขับเคลื่อนได้จริง

Article Details

บท
Articles
Author Biographies

อนุพันธ์ เรืองพรวิสุทธิ์, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม

Rajabhat Maha Sarakham University

ปุณณดา ทรงอิทธิสุข , มหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร แม่สอด

Kamphaeng Phet University Maesot

โชติ บดีรัตน์, มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม

Pibulsongkram Rajabhat University

References

แนวทางพัฒนาทักษะด้านดิจิทัลของข้าราชการและบุคลากรภาครัฐเพื่อการปรับเปลี่ยนเป็น

รัฐบาลดิจิทัล.[ออนไลน์]. สืบค้นจาก: https://www.ocsc.go.th/sites/ /page/process_devskill_digital.pdf. [24 ตุลาคม 2564].

ประชาภรณ์ ทัพโพธ. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของบุคลากรในการพัฒนา

คุณภาพ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบล จังหวัดนครปฐม. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 7(2). 475 – 491.

ปรางทิพย์ ภักดีคีรีไพรวัลย์. (2559). การศึกษาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชนบ้านแสนตอ หมู่

ตำบลท่าผา อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์.

ภาครัฐไทยกับการก้าวเข้าสู่รัฐบาลดิจิทัล. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก:

https://library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2559/mar2559-

pdf [1 ตุลาคม 2562].

ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพ์ครั้งที่ 5.

กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.ลัดดาวัลย์ เกษมเนตร (2546: 2 – 3)

เศรษฐกิจดิจิทัล (Digital Economy) นโยบายคลับเคลื่อนเศรษฐกิจใหม่. [ออนไลน์]. จาก:

https://library2.parliament.go.th/ejournal/content_af/2558/mar2558-2.pdf [24

สอ เสถบุตร.(2530). New Model English-Thai Dictionary. กรุงเทพฯ:ไทยวัฒนาพานิช.

ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น, กรม. “Thailand 4.0โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่งคั่ง

มั่นคงและยั่งยืน”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.dla.go.th/servlet/EbookServlet, [14 ตุลาคม 2564].

Sills, D.L. (1972). Leadership International Encyclopedia of the Social

Sciences.New York. The Macmillan & The Free Press.