แนวโน้มของการออกแบบการสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21

Main Article Content

พระปลัดภัครวัฒน์ สีลเตโช
พระมหาธงชัย วิลาสินี

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวคิดและเพื่อนำเสนอแนวทางการจัดการเรียนรู้เพื่อผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 การออกแบบการเรียนการสอนเกี่ยวกับพื้นฐานการออกแบบการสอน การขยายขอบข่ายเกี่ยวกับพื้นฐานของการออกแบบการสอนและการแก้ปัญหาโดยการบูรณาการหลักการ ทฤษฎี ลงสู่การปฏิบัติ โดยบูรณาการกับทักษะการจัดการเรียนรู้ที่สำคัญในศตวรรษที่ 21 สำหรับผู้เรียนประกอบด้วย Reading (การอ่าน) wRiting (การเขียน) และ aRithmetic (คณิตศาสตร์) และ 8C ประกอบด้วย Critical Thinking & Problem Solving (ทักษะด้านการคิดอย่างมีวิจารณญาณ และทักษะในการ แก้ปัญหา) Creativity & Innovation (ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม) Cross-Culture Understanding (ทักษะด้าน ความเข้าใจต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์) Collaboration, Teamwork & Leadership (ทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำ) Communications, Information & Media Literacy (ทักษะด้านการสื่อสาร สารสนเทศ และ รู้เท่าทันสื่อ) Computing & ICT literacy (ทักษะด้าน คอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร) Career & Learning Skills (ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู้) และCompassion (มีคุณธรรม มีเมตตา กรุณา มีระเบียบวินัย)


 

Article Details

บท
Articles
Author Biography

พระมหาธงชัย วิลาสินี, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Mahachulalongkornrajavidyalaya University

References

ก่อ สวัสดิพานิช. (2517). เทคโนโลยีทางการศึกษา ประมวลบทความเกี่ยวกับนวัตกรรมและ

เทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

กิดานันท์ มลิทอง. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและนวัตกรรม. กรุงเทพฯ : อรุณการพิมพ์.

ชัยยงค์ พรหมวงศ์. (2526). เอกสารการสอนชุดวิชาเทคโนโลยีและสื่อสาร หน่วยที่ 1-5.

กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์สหมิตร.

ถนอมพร เลาหจรัสแสง.(2563).การเรียนรู้ในยุคสมัยหน้า : ตอนอนาคตครูไทย ครูพันธุ์ C.

เชียงใหม่ : สถานบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วัชระ จตุพร. (2561). โรงเรียนทางเลือกกับการจัดการเรียนรู้สำหรับผู้เรียนแห่งศตวรรษ

ที่ 21. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 41(2), 1-17.

วิจิตร ศรีสอ้าน. (2517). เทคนิควิทยาทางการศึกษา นวัตกรรมและเทคโนโลยีการศึกษา

ประมวลบทความเกี่ยวกับนวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. กรุงเทพฯ :

โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว.

สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา,กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). ตัวชี้วัดและสาระการ

เรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรมตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ :

โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

AECT. (1979). The definition of educational technology: AECT task force

on definition and technology. Washington, D.C.: Association for

educational communication and technology.

Fleming, M.L., & Levie, W.H. (1993). Instructional message design: Principles

from the behavioral and cognitive sciences. New Jersey : Educational technology publications.

Good, C.V. (1973). Dictionary of education. New York: McGraw Hill.

Kozma, G. (1991). Learning with media. Review of educational research, 61(2),

-211.

Richard, S. (1999). The computer and education: choosing the least powerful

means of instruction. Bulletin of science, technology & society, 19(2),

-104.

Richey, R.C. (1986). The theoretical and conceptual bases of instructional

design. London: Kogan Page.

Seels, B.B. and Richey, R.C. (1994). Instructional technology The definition and

domains of the field. AECT, Washington DC.

Skinner, B.F. (1954). The science of learning and the art of teaching. Harvard

educational review, 24(2), 86-97.