ภาวะผู้นำเชิงพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา

Main Article Content

พระอานันทะสัก นนฺทิวฑฺฒโน (พัดทะสีรา)

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสังเคราะห์แนวคิดเกี่ยวกับภาวะผู้นำเชิงพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ซึ่งผู้บริหารสถานศึกษาในปัจจุบันจำเป็นต้องมีความเป็นผู้นำ (Leadership) มีความรู้และประสบการณ์ (Knowledge and experience) มีมนุษยสัมพันธ์ดี (Human relationship) และมีคุณธรรมสูง (Virtue) ถึงจะนำพาองค์การประสบความสำเร็จลุล่วงตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้อย่างมีประสิทธิภาพ ประกอบไปด้วย 1) จักขุมา มีปัญญามองการณ์ไกล 2) วิธูโร การจัดธุระได้ดี 3) นิสสยสัมปันโน พึ่งพาอาศัยคนอื่นได้ และ 4) สัปปุริสธรรม 7 ประการ ได้แก่ (1) ธัมมัญญุตา รู้หลักหรือรู้จักเหตุ (2) อัตถัญญุตา รู้ความมุ่งหมายหรือรู้เหตุผล (3) อัตตัญญุตา รู้จักตน (4) มัตตัญญุตา รู้จักประมาณ (5) กาลัญญุตา รู้จักกาลเวลา (6) ปริสัญญุตา รู้จักชุมชน สังคม และ (7) ปุคคลัญญุตา รู้จักบุคคล

Article Details

บท
Articles

References

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2535). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ: สหมิตรออฟเซ็ท.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). (2546). ภาวะผู้นำ : ความสำคัญต่อการพัฒนาตนพัฒนา

ประเทศ. กรุงเทพฯ : ธรรมสภา.

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยตุโต). (2538). พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระมหาวิทูร ธมฺมโชโต (แสงอินทร์). (2561). กลยุทธ์การพัฒนาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง

เชิงพุทธสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนสามัญศึกษา.

บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิจิตร วรุตยางกูร. (2538). การนิเทศการศึกษา. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

วิเชียร วิทยาอุดม. (2548). ภาวะผู้นำ. กรุงเทพฯ : ธีระฟิล์ม และไซเท๊กซ์.

วิโรจน์ สารรัตนะ. (2553. การวิจัยทางการบริหารการศึกษา : แนวคิดและกรณีศึกษา.

ขอนแก่น : คลังนานาวิทยา.

สุเทพ พงศ์ศรีวัฒน์. (2550). ภาวะความเป็นผู้นำ. กรุงเทพฯ : เอเชียเพรส.

Kurt Lewin. (1960). The Dynamic of Group Action, Education Leadership. New

York: Henny Holt B. Co,.