พุทธปรัชญากับศาสตร์การสอนสังคมศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
พุทธปรัชญากับศาสตร์การสอนสังคมศึกษามีเป้าหมายหลักคือพัฒนาบทบาทครู และผู้เรียน สร้างนวัตกรรมของกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาให้เป็นการศึกษาที่มีคุณภาพอาศัยครูผู้สอนที่มีทักษะในการจัดการเรียนรู้ มีเจตคติต่อวิชาชีพครูที่ดี มีแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์สูง ครูต้องสามารถบูรณาการกลุ่มสาระวิชาสังคมศึกษามาใช้ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ด้านศาสนาศีลธรรมและจริยธรรม หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรมและการดำเนินชีวิต ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์ ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กันและ มีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย ตามแนวทาง พระพุทธศาสนา
Article Details
References
จิตรกร ตั้งเกษมสุข (2524). ความเป็นมาของการศึกษาไทย. กรุงเทพฯ : เคล็ดไทย.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2555). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
บูรชัย ศิริมหาสาคร. (2545). แผนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. สาขาวิชา
ศึกษาศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). (2540). พระพุทธศาสนาเพื่อการพัฒนามนุษย์และสังคม.
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ท้องถิ่น.
พระวิเทศพรหมคุณ (วงษ์สุวรรณ). (2560). สื่อสังคมศึกษาแนวพุทธการสอนสังคมศึกษา
กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
พระราชวรมุนี (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2528). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ฉบับประมวลธรรม (พิมพ์
ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วรรณปก, ส. (2542). วิธีการสอนพระพุทธศาสนาในพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ:
บริษัทอมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2561). สมรรถนะของผู้ตรวจสอบและประเมินระบบการศึกษา สัมมนา
วิชาการ ‘การวัดผลประเมินผลและวิจัยการศึกษาไทยแลนด์ 4.0. คณะ
ศึกษาศาสตร์. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สาโรช บัวศรี. (2549). การศึกษาและจริยธรรม ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี. กรุงเทพฯ:
คณะกรรมการจัดสร้างอนุสาวรีย์ ศาสตราจารย์ ดร.สาโรช บัวศรี และงานยุทธศาสตร์เพื่อ พัฒนามหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.