การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1

Main Article Content

นฤมล เพชรแวว
คึกฤทธิ์ ศิลาลาย

บทคัดย่อ

ผลการวิจัยพบว่าการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของข้าราชการครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1โดยภาพรวม และรายด้านอยู่ในระดับมากที่สุด โดยเรียงลําดับค่ามัชฌิมเลขคณิตจากมากไปหาน้อยได้ดังนี้ 1) ด้านการบริหารงานที่ตั้งอยู่บนคุณธรรม จริยธรรม 2) ด้านการบริหารงานโดยใช้เหตุผล 3) ด้านการบริหารงานบนฐานของความรู้ และ 4) ด้านการสร้างความพอประมาณ และผลการเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารสถานศึกษา ตามทัศนะของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปราจีนบุรี เขต 1 โดยภาพรวม และรายด้าน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 มีข้อเสนอแนะดังนี้ 1) ผู้บริหารควรดำเนินการอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้กระบวนการบริหารเกิดประสิทธิผลและเป็นไปตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างแนบแน่น 2) ควรมีการเปรียบเทียบการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงระหว่างมุมมองของผู้บริหารและข้าราชการครู และ 3) ควรวิจัยในลักษณะการวิจัยเชิงปฏิบัติการ หรือวิจัยกึ่งทดลองที่สะท้อนถึงผลการดำเนินงานที่เป็นรูปธรรมในครั้งต่อไป

Article Details

บท
Research Articles
Author Biographies

นฤมล เพชรแวว , มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ศึกษาศาสตร์

คึกฤทธิ์ ศิลาลาย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง

ศึกษาศาสตร์

References

จินตนาพร ศรีจันทร์ และสุนทร โคตรบรรเทา. (2565). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของผู้บริหารโรงเรียนกลุ่มสหวิทยาเขตวาริน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาอุบลราชธานี-อำนาจเจริญ. วารสารสถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 9(3), 95-106.

จุฑามาศ สำราญกิจ. (2564). รูปแบบการบริหารสถานศึกษา ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปราจีนบุรี. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 13(2), 357-367.

จุฑามาส พัฒนศิริ. (2560). แนวทางการบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนในจังหวัดนครสวรรค์ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ชนัญชิดา วงศ์ใหญ่, พูนชัย ยาวิราช และสมเกียรติ ตุ่นแก้ว. (2560). การศึกษาการใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารจัดการศึกษาของกลุ่มโรงเรียนภูซาง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 2. วารสารบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย, 10(2), 1-10.

ชลลดา ไชยธรรม. (2564). การศึกษาการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 3. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยพะเยา.

ชัญชนา สุขศรีสวัสดิ์, อโณทัย ประสาน และวันชัย วงศ์ศิลป์. (2561). การบริหารตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สำนักงานส่งเสริมการศึกษานอกระบบ และการศึกษาตามอัธยาศัย จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์, 10(2), 96-104.

ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล. (2565). เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึงอะไร. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.thansettakij.com/economy/519073

ณัฐพร เอี่ยมหรุ่น. (2561). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับคุณภาพชีวิตการทำงานของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 8. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐสุดา ตะเภาพงษ์. (2561). ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการบริหารสถานศึกษา. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ “GRADUATE SCHOOL CONFERENCE 2018”

ทรงสุดา น้ำจันทร์ และสมกูล ถาวรกิจ. (2564). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนขยายโอกาสในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1. วารสารราชพฤกษ์, 11(2), 64-72.

ธนากร จักรหา และชัยอนันต์ มั่นคง. (2564). แนวทางการใช้หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษา จังหวัดสระบุรี. วารสารมหาจุฬาวิชาการ, 8(3), 167-176.

นพรัตน์ คำสุทธี. (2563). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานีเขต 3. วารสารบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต, 20(2), 18-34.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.

ประธาน ขรรค์เจนการ และไตรรัตน์ สิทธิทูล. (2563). การบริหารกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1. วารสารราชพฤกษ์, 18(3), 68-78.

พิชญาดา สิงหเลิศ. (2560). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนในสหวิทยาเขตระยอง 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 18. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

พินิจ เครือเหลา และ วรกาญจน์ สุขสดเขียว. (2562). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โรงเรียนพิทยาลงกรณ์พิทยาคม. วารสารการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยศิลปากร.10(1), (มกราคม – มิถุนายน 2562).

มาลีรัตน์ ทองแช่ม. (2561). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนบ้านหัววัง สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเกริก.

สำนักส่งเสริมการปลูกป่า กรมป่าไม้. (2560). ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง. สืบค้นเมื่อ 7 พฤษภาคม 2565, จาก https://www.forest.go.th/reforest-admin.

อรวรรณ แสงดาว. (2562). การศึกษาบทบาทของผู้บริหารในการบูรณาการศาสตร์พระราชาด้านหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงในการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาจังหวัดพะเยา. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยพะเยา.

อารีมาน สะมะแอ. (2564). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของโรงเรียนแกนนำสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษายะลา เขต 3. วารสารวิชาการสันตพล, 7(1), 147-154.

อุเทน แป้งนวลดี, ทินกร พูลพุฒ และรวงทอง ถาพันธุ์ (2563). การบริหารสถานศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงที่ส่งผลต่อการบริหารสถานศึกษาสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(3), 175-188.

Best. J. W. and Kahn J.V. (1993). Research in Education. (7th ed). Boston, M.A.: Allyn and Bacon.

Cohen, J. (1977). Statistical Power Analysis for Behavioral Sciences. New York: Academic Press.

Cronbach, L. J. (1990). Essentials of Psychological Test. (5th ed.). New York: Harper Collins.

Rovinelli, R. J.and Hambleton, R. K. (1977). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion-Referenced Test Item Validity. Dutch Journal for Educational Research, 2(2), 49-60.