ทัศนคติของครูที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในการสอนออนไลน์ของโรงเรียนในสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2

Main Article Content

ปภาวี มุ่งนากลาง
สุดใจ พันธุ์ศรี
สิริพร แสนทวีสุข
สมสัตย์ แทนคำ

บทคัดย่อ

เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของครูที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีการสื่อสารในการสอนออนไลน์ของโรงเรียน ในสำนักงานเขตพื้นที่ประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 2 โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามไปรวบรวมความเห็นของกลุ่มตัวอย่างจำนวน 400 คน แล้วนำกลับมาวิเคราะห์สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลวิจัยพบว่า ทัศนคติที่มีต่อการใช้เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์เชิงบวกระดับมากกับการสอนออนไลน์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และมีค่า r = .82 จึงสรุปได้ว่า องค์ประกอบของการสอนออนไลน์ในด้านการเข้าร่วมของนักเรียนและกิจกรรมการเรียนเป็นวิธีการสอนที่สำคัญที่สุดในการเรียนออนไลน์

Article Details

บท
Research Articles

References

กฤษณา สิกขมาน. (2554). การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาการสื่อสารภาษาอังกฤษ

ธุรกิจโดยการใชการสอนแบบ E-Learning. รายงานการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยศรีปทุม.

กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ. (2554). บทที่ 5 การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง,

https://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554....PDF

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ, วารสาร

ปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.

Anderson, T., Rourke, L., Garrison, D.R., & Archer, W. (2001). Assessing teaching

presence in a computer conferencing context. Journal of Asynchronous Learning Networks, 5 (2), 1 17.

Allen, I. E., & Seaman, J. (2017). Digital learning compass: Distance education

enrollment report 2017. Babson Survey Research Group. Retrieved from http://onlinelearningsurvey.com/reports/digtiallearningcompassenrollment2017.pdf

Dixson, M. D. (2010). Creating effective student engagement in online courses:

What do students find engaging ?. Journal of the Scholarship of Teaching and Learning, 1-13.

Firat, S. , & Tarik, K. (2016). Emotional presence in online learning scale: A

scale development study. The Turkish Online Journal of Distance Education, Vol 17(3), Pp 50-61 (2016), (3), 50. doi: 10.17718 / tojde.87040

Irwin, A.J. (2012). Phytoplankton niches estimated from field data. Limnology

and Oceanography, 57(3), 787-797,

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research

activities. Educational and Psychological Measurement, 30(3), 607–610.

Li, Y., Wang, W., Lim, H.Y. (2021). Drosophila Solute Carrier 5A5 Regulates

Systemic Glucose Homeostasis by Mediating Glucose Absorption in the Midgut. Int. J. Mol. Sci. 22(22): 12424.

Moate, R. M., & Cox, J. A. (2015). Learner-centered pedagogy: Consideration for

applications in a didactic course. Professional Counselor, 5(3), 379-389.

Nortvig, A. M. , Petersen, A. K. , & Balle, S. H. (2018). A literature review of the

factors influencing e-learning and blended learning in relation to learning outcome, student. Electronic Journal of e-Learning, 16 (1), 46-55.

Woodworth, J. L., Raymond, M. E., Chirbas, K., Gonzalez, M., Negassi, Y., Snow,

W., & Van Donge, C. (2015). Online charter school study. Stanford, CA. Retrieved from https://credo.stanford.edu/pdfs/OnlineCharterStudyFinal2015.pdf

Zhang, J., & Zhang, J. (2009) “Influencing of online learning and the LICE

model.” e-Education Research 194(6): 73-77.