การศึกษาปัญหาการดำเนินงานสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1

Main Article Content

ภิญโญ บัวภา
นิคม นาคอ้าย

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัญหาการดำเนินงานสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 ประชากรในการวิจัยคือ ผู้บริหาร และครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 จำนวน 144 แห่ง กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน นำมาสุ่มตัวอย่างแบบด้วยวิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในสถานศึกษา 108 แห่ง รวม 216 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอข้อมูลผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย ผลการวิจัยพบว่าปัญหาการดำเนินงานสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ปัญหาด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ปัญหาการดำเนินงานด้านการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง  รองลงมา คือ ปัญหาการดำเนินงานด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม อยู่ในระดับปานกลาง และปัญหาการดำเนินงานด้านการมีแบบแผนความคิด อยู่ในระดับน้อย ตามลำดับ ส่วนปัญหาด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ปัญหาการดำเนินงานด้านการเรียนรู้ของทีม อยู่ในระดับน้อย

Article Details

บท
Research Articles

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (ฉบับที่ 2)

และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4)พุทธศักราช 2562. กรุงเทพฯ : บริษัทสยามสปอรต์ ซินดิเค

จำกัด.

จำเรียง วัยวัฒน์และเบญจมาศ อ่ำพันธุ์. (2540). วินัย 5 ประการ พื้นฐานองค์กรเรียนรู้. กรุงเทพฯ:

บริษัทบริษัทเอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด.

ชนันภรณ์ อารีกุล. (2563). การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต แนวคิด หลักการ และสาระสำคัญ.

กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณิชชารัช เนาวรัตน์. (2552). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการพัฒนาโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของ

โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1. บัณฑิต

วิทยาลัย :มหาวิทยาลัยบูรพา.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

บุษยมาศ สิทธิพันธ์. (2559). ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในอำเภอท่า

ใหม่ จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. บัณฑิต

วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปราชญา กล้าผจัญและสมศักดิ์ บุญเที่ยง. (2545). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา.

กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2544). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พยัต วุฒิรงค์. (2563). การจัดการนวัตกรรม : ทรัพยากร องค์การแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม.

(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรนภา มันดี. (2560). การศึกษาสภาพปัจจุบันและแนวทางพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ในสังกัดเทศบาลเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา. บัณฑิต

วิทยาลัย :มหาวิทยาลัยพะเยา.

พิมพันธ์ เตชะคุปต์. (2543). ประมวลผลความนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา.

กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2550). สัตตศิลา : หลัก 7 ประการสำหรับการเปลี่ยนผ่านการศึกษา

เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มินตรา อินต๊ะไชย. (2560). แนวทางการพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนอนุบาล

พะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย :

มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.

วิจารณ์ พานิช. (2550). วิถีแห่งองค์กรอัจฉริยะ. จุลสารอุตสาหกรรมสัมพันธ์. 73 : 2-3.

วิไลลักษณ์ ดลสว่าง. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับ

ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนระยองวิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาระยอง เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิไลลักษณ์ แว่นทอง, อรพิน ปิยะสกุลเกียรติ และเฉลิมพลไวทยางกูร. (2564,มกราคม-มิถุนายน).

การพัฒนาบ้านหนังสือให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สำนักงานเขตบึงกุ่มกรุงเทพมหานคร.

วารสารมหาจุฬาคชสาร. 12(1) : 79-90.

สุวิมล ติรกานันท์. (2557). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่

. กรุงเทพฯ: ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1. (2563). รายงานผลการดำเนินงานตาม

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563. เข้าถึงได้จาก:

https://www.utdone.net/report6401.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 25 พฤษภาคม 2564)

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1. (2565). แผนปฏิบัติราชการประจำปี

งบประมาณ พ.ศ.2565. เข้าถึงได้จาก: https://www.utdone.net/.

(วันที่ค้นข้อมูล : 30 พฤษภาคม 2565)

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). สภาพการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้.

กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.

อภิญญา ฉัตรช่อฟ้า. (2562, มกราคม - มิถุนายน). เรื่อง องค์การแห่งการเรียนรู้. วารสาร มจร

มนุษยศาสตร์ปริทรรน์. 5(1) : 163-164.

Campbell, R.F.Bridges and, R.O. Nystran. (1983). Introduction to Educational

Administrator, (Boston : Ally and Bacon, 1983), p 22.

Fenwick, J. (1992). Managing Middle Grade Reform-An “ American 2000” Agenda.

(San Diego, CA : Fenwick and Associates, Inc., 1992), p 127.

Garvin, D. (1993). Building Learning Organization. Havard Business Review, (July-

August 1993): 778-779.

Good, C.V. (1983). Dictionary of Education. (New York : McGraw-Hill Book Company,

, p 14.

Hoy, W.K. and Miskel, C.G. (2001) Education Administration : theory. Research and

Managementand. Perceived Institutional Effectiveness in North Carolina,

(New York : McGraw Hill Book., Co.,2001), p 170.

Marquardt & Reynolds. (1994). The Global Learning Organization. New York : Irwin.

Senge, P. M. (1991). The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning

Organization. New York: Doubleday.