การศึกษาปัญหาการดำเนินงานสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ ของสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1

##plugins.themes.bootstrap3.article.main##

ภิญโญ บัวภา
นิคม นาคอ้าย

摘要

การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษาปัญหาการดำเนินงานสู่ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 ประชากรในการวิจัยคือ ผู้บริหาร และครูในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 จำนวน 144 แห่ง กำหนดขนาดของกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางของเครจซี่และมอร์แกน นำมาสุ่มตัวอย่างแบบด้วยวิธีสุ่มแบบแบ่งชั้น กำหนดกลุ่มผู้ให้ข้อมูล ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา และครูในสถานศึกษา 108 แห่ง รวม 216 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือ แบบสอบถาม แบบมาตรวัดประเมินค่า 5 ระดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และนำเสนอข้อมูลผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบตารางประกอบคำบรรยาย ผลการวิจัยพบว่าปัญหาการดำเนินงานสู่การเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1 โดยภาพรวม อยู่ในระดับน้อย เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ปัญหาด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด คือ ปัญหาการดำเนินงานด้านการคิดอย่างเป็นระบบ อยู่ในระดับปานกลาง  รองลงมา คือ ปัญหาการดำเนินงานด้านการสร้างวิสัยทัศน์ร่วม อยู่ในระดับปานกลาง และปัญหาการดำเนินงานด้านการมีแบบแผนความคิด อยู่ในระดับน้อย ตามลำดับ ส่วนปัญหาด้านที่มีค่าเฉลี่ยต่ำสุด คือ ปัญหาการดำเนินงานด้านการเรียนรู้ของทีม อยู่ในระดับน้อย

##plugins.themes.bootstrap3.article.details##

栏目
Research Articles

参考

กระทรวงศึกษาธิการ. (2562). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 (ฉบับที่ 2)

และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 4)พุทธศักราช 2562. กรุงเทพฯ : บริษัทสยามสปอรต์ ซินดิเค

จำกัด.

จำเรียง วัยวัฒน์และเบญจมาศ อ่ำพันธุ์. (2540). วินัย 5 ประการ พื้นฐานองค์กรเรียนรู้. กรุงเทพฯ:

บริษัทบริษัทเอ็กซเปอร์เน็ท จำกัด.

ชนันภรณ์ อารีกุล. (2563). การศึกษาและการเรียนรู้ตลอดชีวิต แนวคิด หลักการ และสาระสำคัญ.

กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณิชชารัช เนาวรัตน์. (2552). บทบาทผู้บริหารสถานศึกษาในการพัฒนาโรงเรียนแห่งการเรียนรู้ของ

โรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสระแก้ว เขต 1. บัณฑิต

วิทยาลัย :มหาวิทยาลัยบูรพา.

บุญชม ศรีสะอาด. (2560). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 10). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

บุษยมาศ สิทธิพันธ์. (2559). ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนมัธยมศึกษาในอำเภอท่า

ใหม่ จังหวัดจันทบุรี สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 17. บัณฑิต

วิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.

ปราชญา กล้าผจัญและสมศักดิ์ บุญเที่ยง. (2545). หลักและทฤษฎีการบริหารการศึกษา.

กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2544). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพฯ : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พยัต วุฒิรงค์. (2563). การจัดการนวัตกรรม : ทรัพยากร องค์การแห่งการเรียนรู้ และนวัตกรรม.

(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรนภา มันดี. (2560). การศึกษาสภาพปัจจุบันและแนวทางพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้

ในศตวรรษที่ 21 ของสถานศึกษา ในสังกัดเทศบาลเมืองพะเยา จังหวัดพะเยา. บัณฑิต

วิทยาลัย :มหาวิทยาลัยพะเยา.

พิมพันธ์ เตชะคุปต์. (2543). ประมวลผลความนวัตกรรมเพื่อการเรียนรู้สำหรับครูยุคปฏิรูปการศึกษา.

กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2550). สัตตศิลา : หลัก 7 ประการสำหรับการเปลี่ยนผ่านการศึกษา

เข้าสู่ยุคเศรษฐกิจฐานความรู้. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

มินตรา อินต๊ะไชย. (2560). แนวทางการพัฒนาการเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนอนุบาล

พะเยา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยา เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย :

มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย.

วิจารณ์ พานิช. (2550). วิถีแห่งองค์กรอัจฉริยะ. จุลสารอุตสาหกรรมสัมพันธ์. 73 : 2-3.

วิไลลักษณ์ ดลสว่าง. (2556). ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารกับ

ความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ของโรงเรียนระยองวิทยาคม สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษาระยอง เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยบูรพา.

วิไลลักษณ์ แว่นทอง, อรพิน ปิยะสกุลเกียรติ และเฉลิมพลไวทยางกูร. (2564,มกราคม-มิถุนายน).

การพัฒนาบ้านหนังสือให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้ สำนักงานเขตบึงกุ่มกรุงเทพมหานคร.

วารสารมหาจุฬาคชสาร. 12(1) : 79-90.

สุวิมล ติรกานันท์. (2557). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. (พิมพ์ครั้งที่

. กรุงเทพฯ: ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1. (2563). รายงานผลการดำเนินงานตาม

แผนปฏิบัติการประจำปีงบประมาณ พ.ศ.2563. เข้าถึงได้จาก:

https://www.utdone.net/report6401.html. (วันที่ค้นข้อมูล : 25 พฤษภาคม 2564)

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุตรดิตถ์ เขต 1. (2565). แผนปฏิบัติราชการประจำปี

งบประมาณ พ.ศ.2565. เข้าถึงได้จาก: https://www.utdone.net/.

(วันที่ค้นข้อมูล : 30 พฤษภาคม 2565)

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2552). สภาพการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้.

กรุงเทพฯ: วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.

อภิญญา ฉัตรช่อฟ้า. (2562, มกราคม - มิถุนายน). เรื่อง องค์การแห่งการเรียนรู้. วารสาร มจร

มนุษยศาสตร์ปริทรรน์. 5(1) : 163-164.

Campbell, R.F.Bridges and, R.O. Nystran. (1983). Introduction to Educational

Administrator, (Boston : Ally and Bacon, 1983), p 22.

Fenwick, J. (1992). Managing Middle Grade Reform-An “ American 2000” Agenda.

(San Diego, CA : Fenwick and Associates, Inc., 1992), p 127.

Garvin, D. (1993). Building Learning Organization. Havard Business Review, (July-

August 1993): 778-779.

Good, C.V. (1983). Dictionary of Education. (New York : McGraw-Hill Book Company,

, p 14.

Hoy, W.K. and Miskel, C.G. (2001) Education Administration : theory. Research and

Managementand. Perceived Institutional Effectiveness in North Carolina,

(New York : McGraw Hill Book., Co.,2001), p 170.

Marquardt & Reynolds. (1994). The Global Learning Organization. New York : Irwin.

Senge, P. M. (1991). The Fifth Discipline: The Art and Practice of the Learning

Organization. New York: Doubleday.