การจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษ

Main Article Content

อมรศรี ชัยอาคม
มัสยา ราชวงษ์
กรรณศาสตร์ แก้วแสนทิพย์

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ นำเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนภาษา แนวทางการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร และ การจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษให้ประสบความสำเร็จ แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนนั้นต้องอิงสมมติฐานเกี่ยวกับ การรู้ภาษา และ การเรียนภาษา เพื่อจัดการเรียนการสอนให้เหมาะสมตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสาร ซึ่งบทความนี้จะนำเสนอเฉพาะหลักการและแนวคิดเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษ ทั้งนี้วิธีสอนตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารจะเน้นการสื่อสารในชีวิตประจำวัน ตามสถานการณ์ต่างๆ ซึ่งจะช่วยให้ผู้เรียนนำไปใช้ได้จริง ผู้สอนควรเลือกใช้วิธีการในการสอนให้เหมาะกับพื้นฐานความรู้และ ความสามารถทางด้านภาษาของผู้เรียนเพื่อไม่ให้เกิดความถดถอย ตลอดจนเน้นความสนใจ ให้สอดคล้องความต้องการของผู้เรียน และยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางเพื่อทำให้ผู้เรียนสามารถใช้ภาษาได้อย่างเป็นธรรมชาติบรรลุเป้าหมายของการจัดการเรียนการสอนเพื่อส่งเสริมทักษะการฟัง-พูดภาษาอังกฤษ

Article Details

บท
Academic Article

References

กรมวิชาการ. (2545). สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ.

กรุงเทพฯ :กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ.

กรรณิการ์ กาญจันดา. (2546). การใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติตามแนวการสอนภาษาเพื่อ

การสื่อสารเพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษและแรงจูงใจของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

กานต์ญานิศา สุนทร สุรกานต์ จังหารและประสพสุข ฤทธิเดช. (2564) การพัฒนาทักษะ

การพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้กิจกรรมบทบาทสมมุติของนักเรียนชั้น

ประถมศึกษาปีที่ 2. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม 15(3)131-141

กุศยา แสงเดช. (2548). ภาษาอังกฤษภาคปฏิบัติสําหรับครูประถมศึกษา. กรุงเทพฯ : ห้าง

หุ้นส่วนจํากัดวี.เจ. พริ้นติ้ง.

ปัทมา ยิ้มสกุล. (2560). การจัดการเรียนรู้ด้านทักษะการฟังและการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการ

สื่อสารในศตวรรษท 21 ที่สําหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์มหาวิทยาลัยราชภัฎ

ธนบุรี. รายงานการวิจัย มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

พรวรรค์ สีป้อ. (2550). สุดยอดวิธีสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

พินพิชญา หุ่นเภตรา. (2011). การสอนโดยใช้กิจกรรม communicative approach.

ออนไลน์ เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/456725

วิภาดา ประสารทรัพย์. (2542). พฤติกรรมการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏ

สวนสุนันทา.

สุมิตรา อังวัฒนกุล. 2539. วิธีสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย

เสาวลักษณ์, รัตนวิชช์. ( 2550). การสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษา : กลยุทธ์สู่ความสำเร็จ

ในการพัฒนาการรู้หนังสือเพื่อปวงชน: กรุงเทพฯ : มูลนิธิโรตารีแห่งประเทศไทย

Anthony, Edward M. (1963). “Approach, Method, and Technique.” Teaching English

as a Second Language. New York: McGraw, Inc.

David Graddol. (2006) ENGLISH NEXT [Online]. Accessed 12 July 2013. Available

fromhttp://www.britishcouncil.org/learning-research-english-next.pdf

English 100. (2022). Methods of Teaching English: 15 ESL Methods of Teaching

English!. August 16, 2022 by English 100. Available from:

https://learnenglish100.com/esl-teaching-methods/

Johnson, K. & Morrow, K. (1981). Communication in the classroom.

England: Longman Group Ltd

Nunan, D. (1991). Language Teaching Methodology: A Textbook for Teacher.

Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Reena Chakraborty. (2023) 10 Different Methods of Teaching the English

Language. Online. Available from

https://www.henryharvin.com/blog/different-methods-of-teaching-the-

english-language/?fbclid=IwAR2YPREpfmc2uimZcNnhsYX9i1N3xOEr

JGOCQg_xJZ8Xh86SBXeENj0Gws

Richards, C. & Rodgers, T. (1986). Approaches and methods in language

teaching. Cambridge: Cambridge University Press