การบริหารความเสี่ยงและความขัดแย้ง

Main Article Content

พระมหารักศักดิ์ ปญฺญาวุฑฺโฒ
เอกราช โฆษิตพิมานเวช

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้เป็นนำเสนอเนื้อหา การบริหารความเสี่ยงมีความสำคัญและจำเป็นอย่างยิ่งในการป้องกันและควบคุมในด้าน ต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากสถานการณ์ที่ไม่แน่นอน ซึ่งมีผลกระทบต่อความสำเร็จขององค์กรโดยรวม ดังนั้น “การบริหารความเสี่ยงที่ดี” คือการที่คนในองค์กรมีหน้าที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายได้มีส่วนร่วมในการวิเคราะห์ ตรวจสอบ ประเมินความเสี่ยงและผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับองค์กรอยู่เสมอ อีกทั้งมีการร่วมกันวางแผน ป้องกันและควบคุมให้เหมาะสมกับภารกิจ เพื่อลดสภาพปัญหาหรือหลีกเลี่ยงความเสี่ยงที่อาจสร้างความ เสียหายหรือความสูญเสียให้กับองค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ส่วนความขัดแย้ง เป็นสภาพการณ์หรือสถานการณ์ที่เป็นความแตกต่างที่บุคคล 2 คน หรือมากกว่า แสดงพฤติกรรมเปิดเผยออกมาอย่างแตกต่างกัน สภาพการณ์เหล่านี้คือ ความขัดแย้ง ซึ่งอาจเกิดจากมีการรับรู้ในเป้าหมายที่แตกต่างกัน มีความเข้าใจผิดหรือไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ มีความต้องการที่แตกต่างกันหรือแย่งชิงในสิ่งเดียวกัน สถานการณ์เหล่านี้จะทำให้เกิดความตึงเครียดเพราะความไม่เห็นด้วยหรือไม่ตกลงด้วย และมีแนวโน้มทำให้แต่ละฝ่ายมีทิศทางที่ตรงข้ามกลายเป็นแบ่งฝักแบ่งฝ่ายเป็นหน่วยย่อยของสังคมที่ไม่ขึ้นตรงต่อกลุ่มใหญ่ทั้งในแง่ของความคิดและการปฏิบัติส่งผลกระทบเสียหายต่อสันติสุขของสังคม

Article Details

บท
Academic Article

References

กานดา จันทร์แย้ม. (2556). จิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

กรมบัญชีกลางกระทรวงการคลัง. (2562). (ออนไลน์). มาตรฐานและหลักเกณฑ์ปฏิบัติการบริหารจัดการความเสี่ยงสำหรับหน่วยงานภาครัฐ พ.ศ.2562. แหล่งที่มา: http://oia.rmutr.ac.th/wpcontent/uploads/2019/04/Rmutr_IA_MOF_0409.4W42_Date_19-Mar-2562.pdf (19/7/2565).

คณิต เรื่องขจร. (3557). การบริหารความขัดแย้งในองค์กรที่มีอิทธิพลต่อการปฏิบัติงาน : กรณีศึกษาบุคลากรคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลทั้ง 4 แห่ง. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

จิตราพัชร์ ชัยรัตนหิรัญกุล. (2556). การศึกษาการจัดการความขัดแย้งในสถานศึกษาของผู้บริหารโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 42. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

จันทนา สาขากร. นิพนธ์เห็นโชคชัยชนะ. ศิลปะพร ศรีจั่นเพชร. (2557). การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน. กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัด ทีพีเอ็นเพรส.

เดชอุดม คงศรี. (2563 – 2564). คู่มือบริหารความเสี่ยงโรงเรียนนายเรืออากาศนวมินทกษัตริยาธิราช. คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง รร.นนก. พ.ศ. 2563 – 2564.

ดวงกมล โพธิลักษณ์. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษากับแรงจูงใจในการทำงานของครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

พรพรรณ เรืองฤทธิ์ และสุรเชต น้อยฤทธิ์. การพัฒนาแนวทางการบริหารความขัดแย้งในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 20. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. (2560, กรกฎาคม - กันยายน) 11(3): 89 - 107.

ศิริวรรณ มนอัตระผดุง. การจัดการความขัดแย้งในองค์การอย่างสร้างสรรค์. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). (2559, พฤษภาคม -สิงหาคม) 6(2): 193 – 208.

สุตาภัทร จันทร์ประเสริฐ. ความขัดแย้งในองค์กรธุรกิจ: แนวทางป้องกันและแก้ไข. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี. (2560, มกราคม - มิถุนายน) 9(1): 218 - 226.

สมรรัตน์ นิรันดรเกียรติ. (2556). การบริหารความขัดแย้งให้เกิดประโยชน์. บทความวิชาการในการปรับเลื่อนตำแหน่งเป็นอาจารย์ (สบ 5) กองบัญชาการศึกษา. สำนักงานตำรวจแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง. (2555). คู่มือปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในตามหลักเกณฑ์ /แนวทางปฏิบัติเกี่ยวกับการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ กระทรวงการคลัง.

สำนักงานตรวจสอบภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (2565). คู่มือแผนการบริหารความเสี่ยงบริหารจัดการความเสี่ยง, รอบปีงบประมาณ พ.ศ. 2565.

สมยศ นาวีการ. (2546). การบริหารจัดการ. กรุงเทพฯ : ดอกหญ้า.

อธิญา งามภักดิ์ และอรนนท์ กลันทุประ. สาเหตุและการจัดการความขัดแย้งในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น A จังหวัดปทุมธานี. วารสารวิทยบริการมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. (2558, พฤษภาคม - สิงหาคม) 26(2): 95 - 103.

อัจฉรา ลิ้มวงษ์ทอง. (2557) .การบริหารความขัดแย้งในองค์การ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์บุ๊คส์ ทูยู.

Stephen P. R. (1983). The Theory Z Organization from a Power – Control Perspective. California Management Review.