การสร้างสรรค์งานศิลปกรรมสมัยใหม่ผ่านโขนบนพื้นฐานหลักการสุนทรียศาสตร์และวิทยาศาสตร์
##plugins.themes.bootstrap3.article.main##
摘要
โขนเป็นศิลปะชั้นสูงของไทย และทำหน้าที่เป็นสื่อวัฒนธรรมที่แสดงถึงความเป็นตัวตนของความเป็นชาติ ซึ่งเป็นศาสตร์แขนงหนึ่งที่สะท้อนถึงภาพลักษณ์ของงานวัฒนธรรมมีแบบแผนสืบมานับแต่ราวพุทธศตวรรษที่ 20 สำหรับพัฒนาการของโขน พบว่า มีพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพสังคมและวัฒนธรรมอย่างต่อเนื่องแต่ยังคงรูปแบบ ตลอดจนวิธีการแสดง ซึ่งรูปแบบของการแสดงโขนมีการอนุรักษ์และพัฒนาอยู่อย่างสม่ำเสมอ การผลักดันและให้การสนับสนุนอย่างจริงจัง เพื่อให้ศิลปะของการแสดงโขนคงอยู่อย่างมีคุณค่าในสังคมจึงเป็นเรื่องสำคัญ ดังนั้นผู้เขียน จึงมีความสนใจในการนำเสนอบทความ “การสร้างสรรค์งานศิลปกรรมสมัยใหม่ผ่านโขนบนพื้นฐานหลักการสุนทรียศาสตร์และวิทยาศาสตร์” โดยการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมสมัยใหม่ผ่านโขนบนพื้นฐานหลักการสุนทรียศาสตร์และวิทยาศาสตร์เป็นความพยายายามสร้างโอกาสในการรับรู้โขนผ่านประสาทสัมผัสที่ต่างจากขนบเดิมให้เป็นการรับรู้สุนทรียะแห่งอนาคตที่ใช้จินตนาการร่วมด้วยด้วยการทดลองผสมผสานช่องทางการรับรู้ใหม่ ๆ เข้าด้วยกัน เช่น การทดลองรับรู้โขนผ่านการได้กลิ่นและการได้ฟัง หรือการรับรู้ผ่านรสชาติมาเป็นเครื่องมือในการถ่ายทอดโขน สร้างกระบวนการ สุนทรียรส และขยายผลมิติทางปัญญา โดยใช้ศิลปกรรมโขนบูรณาการผ่านการใช้สี รูปทรง กลิ่น รส มาใช้เปรียบและสื่อความหมายเหตุการณ์ของตัวละครที่ปรากฏในการแสดงโขน ในการสร้างสรรค์งานศิลปกรรมสมัยใหม่ผ่านโขนบนพื้นฐานหลักการสุนทรียศาสตร์และวิทยาศาสตร์ โดยมีความสำคัญในแง่ของการสร้างเนื้อหาให้มีความสอดคล้องกันระหว่างเนื้อหาภายในและสภาพแวดล้อมที่มุ่งหวังให้เกิดประสบการณ์เรียนรู้ผ่านประสาทสัมผัสและการรับรู้นั้น
##plugins.themes.bootstrap3.article.details##
参考
กระทรวงวัฒนธรรม. (2559). คำราชาศัพท์ สำหรับพระมหากษัตริย์: ใช้อย่างไรให้ถูกต้อง.
สืบค้นเมื่อ 20 มีนาคม 2564,จาก
https://www.m-culture.go.th/young/ewt_news.php?nid=269&filename=index
กระทรวงวัฒนธรรม, ออนไลน์. (2561). ข่าวประชาสัมพันธ์ เมื่อวันที่ 29 พฤศจิกายน 2561. [ออนไลน์]. ค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564. เข้าถึงจาก https://bit.ly/2ATItGd
เจษฎา อานิล. (2559). ‘บทความสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. ค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564. เข้าถึงจาก https://www.thaihealth.or.th/?p=240988
ปัญจนาฏ สรวัฒนชัน. (2559). พัฒนาพฤติกรรมมนุษย์. [ออนไลน์]. 2559 [เข้าถึงเมื่อ 2562/8/4]. เข้าถึงได้ จาก: http://www.bsru.ac.th/identity/archives/2514
ปัญญา ไข่มุก. (2559). ). ‘ขยับแบบโขน’ ศิลปะไทย ‘สุขภาพดี’. บทความสำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. ค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564. เข้าถึงจาก https://www.thaihealth.or.th/?p=240988
ปาริชาติ จึงวัฒนาภรณ์. (2549). จากเวทีละครสู่เวทีการวิจารณ์. มหาสารคาม : สำนักพิมพ์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. (2561). โขนเป็นของใคร ไทยหรือเขมร หรือควรจะเลิกเถียงกันได้แล้ว.ค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2564. เข้าถึงจาก https://thestandard.co/khon-unesco-intangible-cultural heritageconflicts/?fbclid=IwAR270cWxd6mJM8fJ6yb1geMSkzf9
WFI3tRHyDjf5jn16vGKZL-jlFtacSJI
ไพฑูรย์ เข้มแข็ง. (2563). จารีตการฝึกหัดและการแสดงโขนตัวพระราม, บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วิจิตร อภิชาติเกรียงไกร. (2558). การวิจัยสาธารณศิลป์เพื่อนิเวศสุนทรีย์ : กรณีศึกษาการพิมพ์ผ้าสด. สำนักงานศิลปวัฒนธรรมร่วมสมัย: กรุงเทพฯ.
สุรัตน์ จงดา. (2562). ผู้ช่วยอธิการบดี สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์, ผู้ช่วยอำนวยการแสดงโขนพระราชทาน. (2 ธันวาคม 2562). สัมภาษณ์.
Fink. (2013). Creating Significant Learning Experiences: An Integrated. Approach to Designing College Courses. San Francisco: Jossey-Bass.