ความสัมพันธ์ระหว่างนวัตกรรมและอารยธรรมในการออกแบบยนตรกรรม

Main Article Content

พุทธิ เทพประทุม
ศุภชัย อารีรุ่งเรื่อง

บทคัดย่อ

ปัจจุบันเทคโนโลยีมีการอย่างรวดเร็วและส่งผลกระทบอย่างกว้างขวางต่อระบบเศรษฐกิจ ภาคการผลิต ภาคการบริการและคุณภาพชีวิตของประชาชน รวมไปถึงในเรื่องของยานพาหนะ หนึ่งในรูปแบบที่ทำให้เห็นถึงความก้าวหน้าเทคโนโลยียานยนต์คือ “รถยนต์พลังงานไฟฟ้า” (Electric Vehicle :EV) เป็นนวัตกรรมยานยนต์ที่ใช้พลังงานจากไฟฟ้าอย่างสมบูรณ์ในการขับเคลื่อน ในแง่มุมของผู้เขียนถ้าพิจารณาในแง่มุมของการออกแบบ เห็นว่า รถยนต์ที่ใช้ระบบไฟฟ้าในปัจจุบัน สามารถแบ่งออกได้เป็น 5 ประเภทคือ 1. รถยนต์ที่มีโครงสร้างเดิมปัจจุบันแต่เปลี่ยนระบบขับเคลื่อนเป็น EV  2. รถยนต์ EV ที่ออกแบบย้อนยุค (retro) 3. รถยนต์ EV ที่ออกแบบตามสมัยปัจจุบัน (MG) 4.รถยนต์ EV ที่ออกแบบล้ำสมัย (Tesla) และ5. รถยนต์ EV ที่ผลิตใหม่แต่เป็นแบบย้อนยุคที่ผสมผสานระหว่างเทคโนโลยีขับเคลื่อนด้วยไฟฟ้าและเทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์เข้าไว้ด้วยกัน โดยการออกแบบยานยนต์สิ่งสำคัญ คือ การผสมผสานระหว่างอารยธรรมเก่ากับนวัตกรรมใหม่ เพื่อสร้างรูปลักษณ์แบบองค์รวมในการออกแบบให้เกิดรูปลักษณ์ที่มีความดึงดูดผ่านการนำความคิดและพฤติกรรมของมนุษย์ที่ต้องการนำเอาอดีตมาใช้ในการออกแบบ ผ่านที่มาของแรงบันดาลใจ แนวความคิด ทัศนธาตุทางศิลปะ และการวิเคราะห์อัตลักษณ์ ก็จะสามารถนำไปสู่ความเข้าใจรูปแบบของงานศิลปะแนวทางการถวิลหาอดีตที่ผสมผสานระหว่างอารยธรรมเก่ากับนวัตกรรมใหม่จนกลายเป็นนวัตกรรมยานยนต์ไฟฟ้าที่สามารถตอบสนองผู้ขับขี่ทั้งในด้านความยั่งยืนต่อสิ่งแวดล้อมในทุกมิติ

Article Details

บท
Academic Article

References

กิจพณ ไพรไพศาลกิจ. (2565). รถยนต์ไฟฟ้า : แนวโน้ม แรงผลักดัน และโอกาสการลงทุน. ระบบ ออนไลน์สามารถเข้าถึงได้ที่ https://www.setinvestnow.com/th/knowledge/

article/198-investment-opportunity-from-automotive-industry. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2565.

กรมควบคุมมลพิษ. (2563). มลพิษทางอากาศจากรถยนต์. ระบบออนไลน์สามารถเข้าถึงได้ที่ https://www.pcd.go.th/publication/4633. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2565.

กรมการขนส่งทางบก. (2563). รายงานสถิติการขนส่ง ประจำปี 2563. ระบบออนไลน์สามารถ

เข้าถึงได้ที่ https://web.dlt.go.th/statistics/.สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2565.

ธนดล ชินอรุณมังกร. (2563). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสินใจซื้อรถยนต์นั่งส่วนบุคคล ระบบไฟฟ้า (EV). บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด. คณะบริหารธุรกิจเพื่อ

สังคม มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2562). รถยนต์ไฟฟ้า: ความต้องการและโอกาสที่กำลังมาถึง. ระบบออนไลน์ สามารถเข้าถึงได้ที่ https://www.krungsri.com/th/research/research- intelligence/ev-survey-22. สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ธันวาคม 2565.

ศูนย์ธุรกิจสัมพันธ์ กรมเศรษฐกิจระหว่างประเทศกระทรวงการต่างประเทศ. (2562). แนวโน้มและ

ทิศทางการพัฒนารถยนต์ไฟฟ้าของจีน. ระบบออนไลน์ สามารถเข้าถึงได้ที่ https://globthailand.com/china-06082019/. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2565.

เรวัต สุขสิกาญจน์. (2555). กลวิธีทางทัศนศิลป์กับการนำไปใช้ในการออกแบบผลิตภัณฑ์ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 5 (1) (มกราคม-เมษายน) : 1-20. อรรถสิทธิ์ แจ่มฟ้า. (2561). รถยนต์ไฟฟ้ากับอุตสาหกรรมรถยนต์ไทย. ส่วนเศรษฐกิจรายสาขา. ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจ ธุรกิจและเศรษฐกิจฐานราก. ธนาคารออมสิน.

Buchanan, Robert Angus. (2022). history of technology. Encyclopedia Britannica, 16 Jun. 2022, https://www.britannica.com/technology/history-of- technology.

Accessed 15 September 2022.

Daniele Archibugi, and Mario Planta. (1996).Measuring technological change through patents and innovation surveys. Technovation 16.9 (1996): 451-519.

Heinzelin, Jean de; Clark, JD; White, T; Hart, W; Renne, P; Woldegabriel, G; Beyene, Y; Vrba, E (April 1999). Environment and Behavior of 2.5-Million-Year-Old Bouri Hominids. Science. 284 (5414): 625–629. Bibcode:1999Sci...284..625D. doi:10.1126/science.284.5414.625. PMID 10213682.

Hughes, T. (1987). The Evolution of Large Technological System. In W. Bijker (Ed.), The Social Construction of Technological Systems: New Directions in the Sociology and History of Technology. Cambridge, UK: Cambridge University Press.

Mat Gasnier. (2014). Global Annual Ugliest Automotive Vehicles for 2015.

Retrieved July 21, 2017, from https://www.google.com/search?client=firefox- bd&q=Mat+Gasnier.+2014

Perrow, Charles. (1967). A Frame Work for the Comparative Analysis of Organization.

In American Sociological Review, 32:94-208.

Plummer, Thomas (2004). Flaked Stones and Old Bones: Biological and Cultural Evolution at the Dawn of Technology. American Journal of Physical Anthropology. Yearbook of Physical Anthropology. Suppl 39 (47): 118–64. doi:10.1002/ajpa.20157. PMID 15605391.

Prukesangkul, J. (2019). บทความวิเคราะห์ ทำไม “รถยนต์ไฟฟ้า” ถึงดูเป็นเรื่องที่ไกลตัว

คนไทยเหลือเกิน!? | MagCarZine.com | ข่าวสารยานยนต์ ให้คุณรู้ จริงก่อนใคร. สามารถ เข้าถึงได้ที่ https://www.magcarzine.com/ev-far-from-thai/.สืบค้นเมื่อวันที่ 4 ธันวาคม 2565.

Skolimowski, as cited in DeVore. (1976). Technology Assessment as a critique of a civilization, PSA 1974, 457-465.