ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการฟิตเนสในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

Main Article Content

กัญญาพัชร์ อำรุงสุข
เสาวลักษณ์ จิตต์น้อม

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการฟิตเนสในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้คือ บุคคลที่เป็นสมาชิกฟิตเนส เคยไปใชบ้ริการอย่างน้อย 5 ครั้งและมีอายุระหว่าง20 ปีขึ้นไปในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 385 คน คิดเป็นอัตราตอบกลับร้อยละ 100 โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ข้อมูลด้วย ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และทดสอบสมมุติฐานด้วยการวิเคราะห์การถดถอยเชิงพหุคูณ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่ส่งผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการฟิตเนสในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา มีจำนวน 4 ปัจจัย ได้แก่ ด้านราคา ด้านช่องทางการจัดจำหน่าย ด้านกระบวนการ และด้านประสิทธิภาพและคุณภาพของการบริการ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.05 ซึ่งตัวแปรอิสระทุกตัวสามารถพยากรณ์ตัวแปรตามมีค่าเท่ากับร้อยละ 68.30 (Adjust R2 = 0.683)

Article Details

บท
Research Articles

References

กรมอนามัย. (2556). กองออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ. นนทบุรี โรงพิมพ์บริษัท.

จิริฒิพา เรืองกล. (2558). ส่วนประสมทางการตลาดและคุณภาพในการให้บริการที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของ ลูกค้า วี ฟิตเนส โซไซตี้ กรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

จิราพร วรเวชวิทยา. (2559). ส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความพึงพอใจในการใช้บริการห้องอาหารครัวเมืองราช. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ณัฐธิดา สระธรรม และ ไกรชิต สุตะเมือง. (2557). ปัจจัยส่วนผสมทางการตลาด ความภักดีต่อตราสินค้า และความไว้วางใจในตราสินค้าที่ส่งผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการบริษัททราเวิล เอเจนซี่ ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารการวิจัยทางธุรกิจ และการบริหาร. 2(1), มกราคม – มิถุนายน 2557

ทวีรัชต์ คงรชต .(2561).ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการซื้อสินค้าผ่านระบบออนไลน์ของคนวัยทำงานในจังหวัดนนทบุรี.วารสารเกษตรศาสตร์ธุรกิจประยุกต์, 12(16), 40-60.

ธีรภัทร ตียาสุนทรานนท์. (2562). พฤติกรรมและปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อความพึงพอใจของผู้ใช้บริการร้านอาหารพื้นเมืองในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิทยาลัยดุสิตธานี, 13(1), 302-314.

นิติพล ภูตะโชติ. (2561). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อบริการของบริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด สาขามหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยธนบุรี, 12 (27), 85-96.

บุญใจ ศรีสถิตนรากูร. (2553). ระเบียบวิธีวิจัยแนวทางปฏิบัติติสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไออินเตอร์ มีเดีย.

พยงุศักดิ์ วิริิยะบัณฑิตกุล. (2549). การสำรวจพฤติกรรมและทัศนคติการเลือกซื้อเสื้อผ้าของผู้บริโภคทั่วโลก. วารสาร BrandAge, 7, 190–193.

ฟาริดา ยุมาดีน. (2562). ส่วนประสมการตลาดบริการ และคุณภาพบริการที่มีผลต่อพฤติกรรมการตัดสินใจใช้บริการสถานออกกาลังกายในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชุมพร. วารสารอิเล็กทรอนิกส์การเรียนรู้ทางไกลเชิง นวัตกรรม, 9(2), 53-64.

อริยชัย สังข์สุวรรณ และปาลิดา ศรีศรกำจร .(2563). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดบริการที่มีอิทธิพลต่อกระบวนการตัดสิินใจเลือกใช้บริการร้านอาหารรูปแบบ Fast Casual ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย พิชญทรรศน์, 15(1), 229-237.

DDproperty. (2563). [ออนไลน์] สืบค้น 27 ตุลาคม 2563 ค้นจากhttps://www.ddproperty.com.

Esti et al. (2014). Defensive marketing mix strategies based on customer satisfaction comparison of digital printing in Surabaya. International Anual Symposium on Management. Department of Management Faculty of Business and Economics University of Surabaya, Surabaya.

Gronroos. (2017). Strategic management and marketing in the service sector. Helsinki: Swedish School of Economics and Business Administration.

Lovelock and Wright. (1999). Principles of service marketing and management. New Jersey: Prentice Hall.

Payam et al. (2016). “Identification and Evaluation of Factors Affecting Customers

Satisfaction from Port Services in Imam Khomeini Port Based on 8Ps and Kano Model.” Journal of Maritime Transport Industry,