การตลาดแบบผสมที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อรถยนต์ใช้แล้วในจังหวัดมุกดาหาร
Main Article Content
บทคัดย่อ
กลยุทธ์การตลาดแบบผสมประกอบด้วยปัจจัยหลากหลายหากแต่มีบางปัจจัยที่ส่งผล
ต่อการทำนายการตั้งใจซื้อของผู้บริโภคในตลาดรถยนต์มือสองจังหวัดมุกดาหาร โดยผู้วิจัยรวบรวมความเห็นจากกลุ่มตัวอย่างจำนวน 398 คน และนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ ผลวิจัยพบว่า องค์ประกอบการตลาดแบบผสมมีอิทธิพลพยากรณ์ต่อการตั้งใจซื้อที่สัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ R2 .72 ความคลาดเคลื่อนสะสมร้อยละ 59 ค่าแปรปรวน 262.12 (Sig. 000) รวมถึงมีผลทดสอบความคลาดเคลื่อนตัวแปรเหตุเป็นอิสระต่อกันตามค่า Durbin-Watson ที่ 1.73 ทั้งนี้โดยมีอิทธิพลขององค์ประกอบของการตลาดแบบผสมด้านหลักฐานทางกายภาพ การสนับสนุนการขาย ผลิตภัณฑ์ และกระบวนการต่อการตัดสินใจซื้อร้อยละ 43, 20, 12, 13 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00, .00, .01 และ .05 ตามลำดับ นอกจากนั้นแล้วยังพบว่า มีแนวทางที่มีความเป็นไปได้มากสำหรับนำไปพัฒนากลยุทธ์การตลาดแบบผสมของตลาดรถยนต์มือสองให้ส่งผลต่อการตั้งใจซื้อของผู้บริโภคประกอบด้วยหลักฐานทางกายภาพและการสนับสนุนการขาย
Article Details
References
เดลินิวส์ (2566). ‘หนี้เสียรถยนต์’ รอระเบิด! ห่วงเลี้ยงค่างวดแค่ยื้อเวลา. หนังสือพิมพ์เดลิวส์. วันที่ 19 มิถุนายน 2566. หน้า 9.
ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.
วิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี. (2566). จังหวัดมุกดาหาร. สืบค้นวันที่ 22 มิถุนายน 2566. จากhttps://th.wikipedia.org/wiki/
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่ พิมพ์ครั้งที่ 1. อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ปจำกัด.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1.
อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ปจำกัด.
Al-Badi, K.S. (2018). The Impact of Marketing Mix on the Competitive Advantage of the SME Sector in the Al Buraimi Governorate in Oman. SAGE Open - Research Paper
Arafah, Y., Winarso, H. & Suroso, D.S.A. (2018). Towards Smart and Resilient City: A Conceptual Model. Earth Environ. Sci. 158 012045.
Chang, W., & Taylor, S. A. (2016). The effectiveness of customer participation in new
product development: A meta-analysis. Journal of Marketing, 80(1), 47–64.
Elena, C. A. (2016). Social media- A strategy in developing customer relationship
management. Procedia Economics and Finance, 39(1), 785-790. doi:10.1016/s2212-5671(16)30266-0
Fang He, V., Sirén, C., Singh, S., Solomon, G., & von Krogh, G. (2018). Keep calm and
carry on: Emotion regulation in entrepreneurs' learning from failure. Entrepreneurship Theory and Practice, etap.12273. 1-26.
Goldsmith, R. E. (1999). The personalised marketplace: Beyond the 4Ps. Marketing
Intelligence & Planning, 17, 178-185, doi:10.1108/02634509910275917
Hsu, W.-Y., Lu, J.-Y., Chien, C.-C., Hsieh, M.-C., & Wang, Y.-H. (2017). Emotion and
concentration integrated system: Applied to the detection and analysis of consumer preference. Proceedings of the 50th Hawaii International Conference on System Sciences, 1512-1521. doi:10.24251/hicss.2017.182
McCarthy, E.J. (1960). Basic Marketing: A Managerial Approach. McGraw-Hill Inc., US.
Marek, P. (2014). A critical analysis of the concept of marketing strategies for small
and mid-sized companies. Economics, Management & Financial Markets, 9(4), 255- 261. Retrieved from
http://www.addletonacademicpublishers.com/economics- management-and-financial-markets
McCarthy, E. J. (1975). Basic marketing: A managerial approach. Homewood.
Mukherjee, S., & Shivani, S. (2016). Marketing mix influence on service brand equity
and its dimensions. Vision: The Journal of Business Perspective, 20, 9-23. doi:10.1177/0972262916628936
doi:10.1111/etap.12273