รูปแบบการวิจัยแบบผสมวิธีทางพุทธนวัตกรรมการบริหารการศึกษา

Main Article Content

พัฒนา ยอดสะอึ
สัมฤทธิ์ กางเพ็ง
ศิวกร อินภูษา

บทคัดย่อ

          การวิจัยแบบผสมวิธีทางพุทธนวัตกรรมการบริหารการศึกษาเป็นกระบวนการที่ผสานวิธีการวิจัยแบบผสมวิธีกับหลักศีลธรรมพุทธที่เข้ากันอย่างลงตัว มุ่งหมายที่จะสร้างองค์ความรู้ใหม่ที่สามารถนำไปสู่การบริหารการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ การวิจัยหลากหลายรูปแบบ เพื่ออธิบายความกว้างและความลึกและยืนยันผลการวิจัย มีกระบวนทัศน์ ได้แก่   ปฏิฐานนิยม และปรากฏการณ์นิยม รูปแบบการวิจัยแบบผสมวิธี แบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ ประกอบด้วย 1) รูปแบบการวิจัยแบบผสมวิธีแบบหลัก ได้แก่ รูปแบบ Convergent Design รูปแบบ Explanatory Sequential Design และ รูปแบบ Exploratory Sequential Design และ 2) รูปแบบของการวิจัยแบบผสมวิธีแบบซับซ้อน ได้แก่ รูปแบบ Mixed Methods Experimental Design หรือ Intervention Design รูปแบบ Mixed Methods Case Study Design รูปแบบ Mixed Methods Participatory-Social Justice Design และ รูปแบบ Mixed Methods Evaluation Design นักวิจัยต้องทำความเข้าใจในลักษณะสำคัญและแนวทางของแต่ละรูปแบบ เพื่อการพิจารณาเลือกใช้รูปแบบการวิจัยแบบผสมวิธีที่สอดคล้องและเหมาะสมกับประเด็นปัญหาวิจัย

Article Details

บท
Articles

References

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2546). การวัด (Measurement). เอกสารประกอบการบรรยายในหัวข้อ

Measurement in Nursing Research วิชา 252 722 Advanced Nursing

Research Methods II หลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการพยาบาล

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ณ ห้อง 6119 อาคาร 6

วันที่ 8 ธันวาคม 2546.

พระครูวินัยธรวรวุฒิ เตชธมฺโม(เฮียงเหี่ย), พระครูปลัดบุญช่วย โชติวํโส, สุนทร สายคำ,

อมรรัตน์ เตชะนอก, และ สัมฤทธิ์ กางเพ็ง. (2566). การวิจัยแบบผสมผสานวิธี

ทางพุทธบริหารการศึกษา. วารสารครุศาสตร์ปัญญา, 2(2), 60-76.

ศิวะพร ภู่พันธ์. (2563). รูปแบบการวิจัยแบบผสมวิธี. วารสารการวัดผลการศึกษา

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 26(1), 16-32.

สัมฤทธิ์ กางเพ็ง, ปาณจิตร กุสุมาลย์, และ ฉลาด จันทรสมบัติ. (2566). การวิจัยแบบ

ผสมผสานวิธี. เอกสารประกอบการสอนรายวิชา วิธีวิทยาการวิจัยขั้นสูง

ทางการบริหารการศึกษา. หลักสูตรครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพุทธบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตขอนแก่น.

Creswell, J. W., & Plano Clark, V. L. (2018). Designing and conducting mixed

methods research. (3rd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage.

Hall, B., & Howard, K. (2008). A synergistic approach: Conducting mixed

methods research with typological and systematic design

considerations. Journal of Mixed Methods Research, 2(3), 248-269.

Schoonenboom, J., & Johnson, R. B. (2017). How to Construct a Mixed

Methods Research Design. Köln Z Soziol, 69, 107-131.