สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 และ 2) เปรียบเทียบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 จำแนกตาม วุฒิการศึกษา ประสบการณ์ทำงาน และขนาดโรงเรียน ผลการวิจัยพบว่า 1) สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาตามการรับรู้ของครู สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก 2) ครูที่มีวุฒิการศึกษาต่างกันมีการรับรู้ต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน 3) ครูที่มีประสบการณ์ทำงานต่างกัน มีการรับรู้ต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 ด้านการมุ่งผลสัมฤทธิ์และด้านการพัฒนาตนเองแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 4) ครูที่สอนในขนาดโรงเรียนต่างมีการรับรู้ต่อสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรปราการ เขต 1 โดยภาพรวมและรายด้านไม่แตกต่างกัน
Article Details
References
กนกอร จุลินทร. (2560). สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาในอำเภอเขาคิชฌกูฏ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยบูรพา.
กิตติภูมิ เรืองเสน,สุภาวดี ลาภเจริญ. (2565). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 2. วารสารครุศาสตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม - สิงหาคม 2566). 60-71.
ณัฐณิชา เขียวอ่อน. (2565). การศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนเฉพาะความพิการกลุ่ม 6 สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยพะเยา.
ทิพวัลย์ อ่างคำ. (2561). สมรรถนะของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษาในโครงการสู่ความเป็นเลิศมาตรฐานสากลสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาภาคเหนือ .บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยสยาม.
นริศรา ทองคำสี. (2565). การศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
ปวีณา รอดเจริญ. (2565). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 6. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านบึง.
ประหยัด ชำนาญ. (2562). การพัฒนาแนวทางการทำงานเป็นทีมสำหรับสถานศึกษาสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดชัยภูมิ. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
พิมพ์ชนก ธุวะคำ. (2565). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานของโรงเรียนสังกัดมูลนิธิแห่งสภาคริสจักรในประเทศไทย. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยพะเยา.
ภาวิณี ไชยวังเย็น. (2565). สมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนขนาดเล็กสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยพะเยา.
รัชชุมาศ ขำจริง. (2563). การศึกษาความต้องการพัฒนาตนเองของครูเอกชน กลุ่มสาระการงานพื้นฐานอาชีพและเทคโนโลยีโรงเรียนเอกชนสังกัดสานักงานศึกษาธิการจังหวัดประจวบคีรีขันธ์. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยบูรพา.
รัชนีกร แสงสว่าง. (2564). การศึกษาสมรรถนะหลักของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
วลัยพร ลามพัฒน์. 2564. การศึกษาการทำงานเป็นทีมของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาชัยภูมิ เขต 3. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาราชภัฏชัยภูมิ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579. กรุงเทพฯ.
สมศักดิ์ ฉัตรประยูร. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษากับทักษะของครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมพระนครศรีอยุธยา เขต 1. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.
สุทธิศักดิ์ อ่อนตะวัน. (2563). สมรรถนะของผู้บริหารกับความสุขของครูโรงเรียนสังกัด
กรุงเทพมหานคร. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยศิลปากร.
อัญมณี เควันตี. (2564). การบริหารการทำงานเป็นทีมที่มีประสิทธิภาพของผู้บริหารสถานศึกษา
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุรินทร์ เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ.
อาภารวี อินวงศ์. (2565). การศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่
การศึกษามัธยมศึกษานครสวรรค์. บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
อุมาพร บรรจงเสนา ณ อยุธยา. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะของผู้บริหารกับการบริหารสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. บัณฑิตวิทยาลัย :,มหาวิทยาลัยราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
เอกชัย ท้าวปัญญา. (2563) . การศึกษาสมรรถนะของผู้บริหารโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเชียงราย เขต 2 บัณฑิตวิทยาลัย :มหาวิทยาลัยพะเยา.
Megginson, D., & Pedler, M. (1992). Self-development: A facillitator’s guide. London : McGraw-Hill.
Parasuraman, A., Zeithaml, V. A., & Berry, L. L. (1988).“SERVQUAL: A Multiple-ItemScale for
Measuring Consumer Perceptions of Service Quality.”Journal ofRetailing, 64 (Spring) (1988): 12-40
Romig, D.A. (1996). Breakthrough teamwork: Outstanding result using structured teamwork. Chicaco: Irwin.