Self-Control Process: A Case Study of Juvenile Nonrecidivists under Bangkok Probation Office 11 (The Central Juvenile and Family Court)

Main Article Content

Tussanee Heimwatthakit
Napattararat Napattararat Chaiakkarakan
Supat Sanjamsai

Abstract

This research is qualitative in nature. Its purpose was to explore the self-control process of juvenile non-recidivists. The research methodology involved in-depth semi-structured interviews with key informants. The key informants included 6 male and 2 female juveniles who were offenders but not recidivists and whose age at the time of committing the offense was between 15-18 years. Another inclusive criterion for the key informants was that they received the court’s judgment or an order for the child or youth to attend training in the Youth Training Center under Bangkok Probation Office11 without a record of recidivism after being released for more than 1 year. With the content-based analysis, research tool validation, and triangulation technique, the findings revealed that the self-control process consists of three steps: (1) dealing with tempting situations to avoid offending, (2) avoidance to offending, and (3) behavior change. The findings shed some light on more effective and appropriate counseling for juveniles.

Article Details

How to Cite
Heimwatthakit, T. ., Napattararat Chaiakkarakan, N. ., & Sanjamsai, S. (2022). Self-Control Process: A Case Study of Juvenile Nonrecidivists under Bangkok Probation Office 11 (The Central Juvenile and Family Court). Manutsat Paritat: Journal of Humanities, 44(2). https://doi.org/10.1016/manutparitat.v44i2.256076
Section
Research Articles

References

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. (2562). กระบวนการยุติธรรมทางอาญาสำหรับเด็กและเยาวชน. กรุงเทพมหานคร: กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน กระทรวงยุติธรรม.

กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน. (2563). รายงานสถิติคดี ประจำปี 2563. กรุงเทพมหานคร: กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชน.

กรมราชทัณฑ์ กระทรวงยุติธรรม. (2561). สถิติการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขัง. สืบค้น 10 มีนาคม 2564, จาก http://www.correct.go.th/recstats/index.php/th/Home

จิรัชยา เจียวก๊ก, อับดุลคอลิก อัรรอฮีมีย์, รอฮานา มะลีเลาะ, อามาณี แนหะ, และ อานีตาร์ เจะเลาะ. (2563, มกราคม-มิถุนายน). การศึกษาอิทธิพลและพฤติกรรมการกระทำผิดของเด็กและเยาวชน ในสถานพินิจและคุ้มครองเด็กและเยาวชนจังหวัดปัตตานี. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 2(1), 19-42.

จิริทธิ์พล ภูวไชยจีรภัทร, และ ประพนธ์ สหพัฒนา. (2561). ปัจจัยกดดันและปัจจัยการควบคุมตนเองกับการกระทำความผิดของเด็กและเยาวชน. วารสารการเมือง การบริหาร และกฎหมาย, 425-451.

จิรายุ เลิศเจริญวนิช. (2557). อิทธิพลของการควบคุมตนเองและการวางกรอบการตัดสินใจต่อเจตนาและพฤติกรรมเพื่อส่วนรวมในภาวะยุ่งยากสองด้านทางสังคม. (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

จีรวรรณ วารุกะ. (2562). มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนภายใต้การกำกับดูแลของรัฐ. (ปริญญานิติศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชากฎหมายอาญาและกระบวนการยุติธรรมทางอาญา คณะนิติศาสตร์: มหาวิทยาลัยศรีปทุม)

จีรวรรณ วารุกะ, สุรีย์ฉาย พลวัน, และคมสัน สุขมาก. (2562, กรกฎาคม-ธันวาคม). มาตรการทางกฎหมายเกี่ยวกับศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนภายใต้การกำกับดูแลของรัฐ. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 38-47.

ชุติมาภรณ์ ค้าขาย. (2562, กรกฎาคม-ธันวาคม). อิทธิพลของสื่อสังคมออนไลน์ต่อพฤติกรรมเบี่ยงเบนของเด็กและเยาวชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 194-227.

ณัฏฐพงษ์ สายพิณ. (2560, กรกฏาคม-ธันวาคม). บทบาทของการสื่อสารอินโฟกราฟิกต่อสังคมไทย. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 11(2), 145-179.

ณัฐวุฒิ จันดี. (2555). ปัญหาการแก้ไขการกระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติดของเยาวชนในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชน เขต 7 จังหวัดเชียงใหม่. (ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)

ดิษยา มีเพียร. (2551). ผลของการฝึกการควบคุมตนเองต่อการลดพฤติกรรมก้าวร้าวของเยาวชนกระทำผิดหญิงในศูนย์ฝึกและอบรมเด็กและเยาวชนหญิงบ้านปรานี. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ.

ตะวันฉาย มิตรประชา. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระทำความผิดซ้ำของเยาวชน เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาเยาวชนภายหลังการปล่อยตัว. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี, 34-46.

นวลจันทร์ ทัศนชัยกุล. (2549). การกระทำผิดของเด็กและเยาวชนชิงทรัพย์และปล้นทรัพย์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์: ภาควิชารัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์.

นิศากร อุบลสุวรรณ. (2557). การกระทำผิดซ้ำคดียาเสพติดของผู้ต้องขังหญิงเรือนจำกลางนครศรีธรรมราช. (ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนามนุษย์และสังคม: มหาวิทยาลัยสงขลา)

บังอร ศิริโรจน์, ศิริเศรษฐ เนตรงาม, กลิ่นสุคนธ์ กันธาน้อย, อัมพวา ทิมแป้น, และ กมลระวี ศรีจันทร์. (2559). ปัญหา อุปสรรค และข้อจำกัดของการติดตาม ดูแลช่วยเหลือสงเคราะห์เด็กและเยาวชนที่กระทำผิดคดียาบ้า หลังได้รับการปล่อยตัวกลับสู่ชุมชน. วารสารวิจัยสังคม, 39-72.

พัชรินทร์ ซำศิริพงษ์. (2561, กันยายน-ธันวาคม). การกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนในคดียาเสพติด. วารสารวิจัยราชภัฏกรุงเก่า, 23-30.

ภัสสร เรืองฤทธิ์, เอกพงษ์ สารน้อย, และคมสัน สุขมาก. (2562, กรกฎาคม-ธันวาคม). ปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติศาลเยาวชนและครอบครัวและวิธีพิจารณาคดีเยาวชนและครอบครัว พ.ศ. 2553. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม, 62-72.

รัตติกร เหมือนนาดอน, ยุพาภรณ์ ติรไพรวงศ์, เจียมใจ ศรีรัตนชัยกูล, และสันติ ยุทธยง. (2562, พฤษภาคม-สิงหาคม). การพัฒนาการเรียนรู้ผ่านการสะท้อนคิด. วารสารวิจัยสุขภาพและการพยาบาล, 13-25.

ศรุต สงวนสุข. (2561, กรกฎาคม-ธันวาคม). ยุทธศาสตร์การป้องกันเด็กและเยาวชนกระทำผิด ในกรุงเทพมหานคร. วารสารวิชาการอาชญาวิทยาและนิติวิทยาศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยตำรวจ, 1-21.

ศิริลักษณ์ ปัญญา และเสาวลักษณ์ ทาแจ้ง. (2563). การกระทำผิดซ้ำในคดียาเสพติดของเด็กและเยาวชนในสังคมไทยยุค 4.0. พยาบาลสาร, 514-525.

ศิริวรรณ กมลสุขสถิต. (2563, มกราคม-มิถุนายน). แนวทางในการป้องกันและแก้ไขการกระทำผิดซ้ำของเด็กและเยาวชนในคดีความผิดเกี่ยวกับยาเสพติดโดยอาศัยปัจจัยที่เป็นตัวทำนายทางด้านอาชญาวิทยา. วารสารวิชาการ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์, 1-19.

สาธิต บุษยากุล. (2555). สาเหตุการกระทำผิดซ้ำของผู้ต้องขังชาย กรณีศึกษา เรือนจำพิเศษกรุงเทพมหานคร. (ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์)

สำนักงานกิจการยุติธรรม. (2564). รายงานสถานการณ์อาชญากรรมและกระบวนการยุติธรรม ประจำปี พ.ศ.2563. กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการยุติธรรม.

สุรัสวดี กัลยาสิทธิ์. (2558). มาตรการพิเศษแทนการดำเนินคดีอาญาสำหรับเด็กและเยาวชนที่กระทำผิดในคดียาเสพติด (วิทยานิพนธ์ นต.ม.). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

เสกสัณ เครือคำ และคณะ. (2562, กรกฎาคม). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการกระทำผิดวินัยของผู้ต้องขังในเรือนจำกลางนครปฐม. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา, 117-135.

หทัยชนก พันพงศ์. (2555). การพัฒนาแบบวัดการควบคุมตนเองสำหรับนักเรียนระดับมัธยมศึกษา. (ปริญญาการศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวัดผลการศึกษา: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ)

Denzin, N. K. (2017). The research act: A theoretical introduction to sociological methods. Chicago: Aldine.

Erikson, E. H. (1950). Growth and crises of the Healthy Personality. In M. J. Senn (Ed.), Symposium on the Healthy Personality. New York: J. Macy, Junior Foundation

Gillebaart, M., & de Ridder, D. T. D. (2015). Effortless self-control: A novel perspective on response conflict strategies in trait self-control. Social and Personality Psychology Compass, 9(2), 88-99.

Gottfredson, M. R., & Hirschi, T. (1990). A general theory of crime. CA: Stanford University Press.

Guba, E. G., & Lincoln, Y. S. (1994). Competing paradigms in qualitative research. In N. K. Denzin & Y. S. Lincoln (Eds.), Handbook of qualitative research (Vol. 2, pp. 105).

Karoly, P. (1993). Mechanisms of self-regulation: A systems view. Annual Review of Psychology, 44(1), 23-52.

Krug, E. G., Mercy, J. A., Dahlberg, L. L., & Zwi, A. B. (2002). The world report on violence and health. The lancet, 360(9339), 1083-1088.

Rosenbaum, M. E. (1990). Learned resourcefulness: On coping skills, self-control, and adaptive behavior. New York: Springer Publishing Company.

Vaughan, T. J., Ward, J. T., Bouffard, J., & Piquero, A. R. (2019). The general factor of self-control and cost consideration: A critical test of the general theory of crime. Crime & Delinquecy, 65(6), 731-771.

Weng, X., & Chui, W. H. (2018). Assessing two measurements of self-control for juvenile delinquency in China. Journal of Contemporary Criminal Justice, 34(2), 148-167.

Wiatrowski, M. D., Griswold, D. B., & Roberts, M. K. (1981). Social control theory and delinquency. American Sociological Review, 525-541.