พัฒนาการ พัฒนาการของการประชาสัมพันธ์แห่งคณะสงฆ์ไทย

ผู้แต่ง

  • พระสุวรรณเมธี (แสวง นวลใจ) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตเชียงใหม่

คำสำคัญ:

พัฒนาการ, การประชาสัมพันธ์, Thai Sangha

บทคัดย่อ

            การประชาสัมพันธ์ในทางพระพุทธศาสนา หมายถึง การที่พระพุทธเจ้าหรือคณะสงฆ์ได้แสดงชี้แจงหรือประกาศ  ศาสนธรรม มีเป้าหมายต่อการดำรงชีวิต 3 ประการ ได้แก่ 1) การเข้าใจถึงสาระของชีวิต 2) การหยั่งรู้ข้อเท็จจริงตามธรรมชาติที่ชีวิตเข้าไปสัมพันธ์ตั้งแต่เกิดจนกระทั่งตาย และ 3) การปฏิบัติตนเพื่อพัฒนาชีวิต โดยมีรูปแบบการประชาสัมพันธ์ในพระพุทธศาสนา 6 ลักษณะ ได้แก่ 1) การประชาสัมพันธ์โดยเทศนาวิธี 2) อิทธิวิธี 3) ทูตวิธี 4) การบัญญัติสิกขาบท 5) การวางข้อเปรียบเทียบเพื่อการวินิจฉัยเรื่องที่เป็นปัญหา และ 6) การสงเคราะห์  การประชาสัมพันธ์แห่งคณะสงฆ์ไทยได้รับอิทธิพลสำคัญ 4 อย่าง ได้แก่ 1) อิทธิพลของพระพุทธศาสนาในอดีต 2) จารีตประเพณีทางสังคม 3) สิ่งแวดล้อม และ
4)กฎระเบียบของรัฐ โดยมีพัฒนาการในยุคปัจจุบัน 5 ลักษณะ ได้แก่ 1) ลักษณะที่ยึดรูปแบบตามแนวทางพระพุทธศาสนาดั้งเดิม และมีการพัฒนารูปแบบใหม่ขึ้นจากการเปลี่ยนแปลงทางสังคม 2) ลักษณะการสื่อสารที่ถูกพัฒนาขึ้นด้วยเครื่องมือสมัยใหม่ เช่น รายการทีวี วิทยุ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น 3) ลักษณะการอนุรักษ์วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม 4) ลักษณะโครงการอบรมคุณธรรมและจริยธรรมแก่เยาวชน และข้าราชการไทย และ 5) ลักษณะทูตวิธีซึ่งถูกพัฒนากลายเป็นคณะพระธรรมทูต

References

กรมการศาสนา. (2525). ประวัติพระพุทธศาสนาแห่งกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี ภาค 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์การศาสนา.

จำนงค์ ทองประเสริฐ. (2534). ประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนาในเอเชียอาคเนย์. กรุงเทพฯ: องค์การค้าของคุรุสภา.

ชมพู ภูมิภาค. (2516). หลักการประชาสัมพันธ์. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.

ชุติสันต์ เกิดวิบูลย์เวช. (2557, 22 มกราคม). เมื่อจบยุคสารสนเทศ อะไรจะมาต่อ - รอบรู้ไอที รอบโลกเทคโนโลยี. สืบค้น 1 ตุลาคม 2559, จาก https://d.dailynews.co.th/it/210244

ทรงวิทย์ แก้วศรี. (2550). การศึกษาวิเคราะห์ยุทธวิธีในการประกาศศาสนาของพระพุทธเจ้า. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย).

บุญเกื้อ ควรหาเวช. (2537). การประชาสัมพันธ์ (Public Relations) (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: ภาควิชาเทคโนโลยีทางการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

พระธรรมวงศ์เทวี (อ่ำ ธมฺมทตฺโต). (2530). พุทธสาสนสุวัณภูมิปกรณ ราชบุรีวัตถุกถา ตำนานขุนไทย. กรุงเทพฯ: กิตติพงศ์การพิมพ์.

พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทฺธิ). (2550). คำบรรยายวิปัสสนากรรมฐาน. กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์พริ้นติ้ง.

พระพุทธโฆสาจารย์. (2534). วิสุทธิมรรคแปล ภาค 2 ตอน 2 (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

พระมหาวัชวีร์ วชิรเมธี. (2558). สารสนเทศคณะสงฆ์อำเภอแม่ทะ. เชียงใหม่: โรงพิมพ์แม๊กซ์พริ้นติ้ง.

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2548). วิมุตติมรรค (พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทยฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2480ก). พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 1. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2480ข). พระธัมมปทัฏฐกถาแปล ภาค 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2544ก). ธมฺมปทฏฺฐกถา ตติโย ภาโค (พิมพ์ครั้งที่ 29). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2544ข). ปฐมสมันตปาสาทิกาแปล เล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. (2559). มังคลัตถทีปนีแปล ภาค 2 เล่ม 5 (พิมพ์ครั้งที่ 18). กรุงเทพฯโรงพิมพ์มหามกุฎราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.

สุชีพ ปัญญานุภาพ. (2540). ประวัติศาสตร์ศาสนา (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย.

สำราญ จูช่วย. (2551). แนวทางการประชาสัมพันธ์ตามคุณลักษณะของนักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษ์ (รายงานผลการวิจัย). นนทบุรี: วิทยาลัยราชพฤกษ์.

สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2562). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้วยการใช้เฟซบุ๊ก (Facebook). กรุงเทพฯ: สำนักประชาสัมพันธ์ สำ นักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-31