รูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น
คำสำคัญ:
การบริหารจัดการ, การเรียนรู้ยุคใหม่, เทคโนโลยีสารสนเทศบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ และความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น 2) สร้างและตรวจสอบยืนยันความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น 3) ประเมินความเป็นไปได้และเป็นประโยชน์ของรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาขอนแก่น
ผลการวิจัยพบว่า
- ผลการศึกษาองค์ประกอบ สภาพปัจจุบัน สภาพที่พึงประสงค์ ความต้องการจำเป็น แนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา
1.1 ผลการศึกษาองค์ประกอบการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา โดยการสังเคราะห์เอกสาร ได้ดังนี้ ด้านการพัฒนาครู ด้านการบริหารหลักสูตร ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการประเมินผล
1.2 ผลการศึกษาสภาพปัจจุบันของการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับปานกลาง
1.3 ผลการศึกษาสภาพที่พึงประสงค์ของการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา โดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด
1.4 ผลการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็นของการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา โดยภาพรวมเท่ากับ 0.347 เรียงลำดับความต้องการจำเป็นจากมากไปหาน้อย ได้ดังนี้ ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการพัฒนาครู ด้านการประเมินผล และด้านการบริหารหลักสูตร - ผลการประเมินความเหมาะสมของรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา โดยผู้ทรงคุณวุฒิ ภาพรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับมากที่สุด
- ผลการประเมินความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบการบริหารจัดการเรียนรู้ยุคใหม่ในสถานศึกษา ภาพรวมมีความเป็นไปได้และความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุด
References
กลัญญู เพชราภรณ์. (2553). คู่มือการจัดระบบการเรียนการสอนที่ยึดผู้เรียนเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้. พระนครศรีอยุธยา. โรงพิมพ์เทียนวัฒนา พริ้นติ้ง.
ขวัญฤทัย ดวงทิพย์. (2565). การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการชั้นเรียนยุคใหม่ของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาเพชรบูรณ์ เขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
ครรชิต มาลัยวงศ์. (2557). เทคโนโลยีการบริหารการศึกษา. ICT Idea for Spiritization. http://drkanchit.com/general_articles/articles/general_24.html
ฉวีวรรณ อินชูกุล. (2565). การบริหารจัดการโรงเรียนประถมศึกษาในสถานการณ์ปกติใหม่ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศิลปากร]. DSpace at Silpakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/4259
ชานนท์ คำปิวทา. (2565). รูปแบบการบริหารเพื่อส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ในยุคดิจิทัลของครูโรงเรียนมัธยมศึกษา [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร]. NU Intellectual Repository. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5045
ณัชชา เจริญชนะกิจ และโสมฉาย บุญญานันต์. (2566). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อส่งเสริมการเรียนรู้สะตีมศึกษาให้กับนิสิตฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูระดับประถมศึกษา. วารสารวิจัยวิชาการ, 6(4), 97-114. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/261298
ณัฐพัชร์ บุญเกต. (2565). การบริหารการจัดการเรียนรู้ในยุคฐานวิถีชีวิตใหม่ของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัยเขต 2 [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์.
ธีรศักดิ์ สะกล และศิริรัตน์ เพ็ชร์แสงศรี. (2561). การศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาในการจัดการเรียนการสอนวิชาคอมพิวเตอร์เพื่อการออกแบบโดยใช้ห้องเรียนอัจฉริยะของนิสิตระดับปริญญาตรี. วารสารครุศาสตร์อุตสาหกรรม, 17(1), 104-112. https://ph01.tci-thaijo.org/index.php/JIE/article/view/140004
นฤมล ทัดสา, วาโร เพ็งสวัสดิ์, และพรเทพ เสถียรนพเก้า (2564). กลยุทธ์การบริหารจัดการชั้นเรียนที่ส่งผลต่อคุณภาพผู้เรียน สำหรับโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารสันติศึกษาปปริทรรศน์ มจร, 10(3), 1344-1357. https://so03.tci-thaijo.org/index.php/journal-peace/article/view/251254
ปุญญิสา เปงยาวงษ์. (2565). ความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุโขทัย เขต 1. สาขาวิสุริสุริชาการบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยนเรศวร.
พวงทอง ศรีวิลัย (2562). รูปแบบการบริหารจัดการการเสริมสร้างสมรรถนะเชิงบูรณาการสำหรับผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ โรงเรียนศรีสังวาลย์เชียงใหม่. สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
พัชราภรณ์ ดวงชื่น. (2563). การบริหารจัดการศึกษารับความปกติใหม่หลังวิกฤตโควิด-19. วารสารศิลปะการจัดการ, 4(3), 783-795. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jam/article/view/243660
พัชราภรณ์ ลีเบาะ, สุชาติ บางวิเศษ และศักดินาภรณ์ นันที. (2564). การพัฒนาแนวทางการบริหารจัดการเรียนรู้สู่ความเป็นเลิศในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเลย หนองบัวลำภู. วารสารวิจัยทางการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 16(2), 164-177.
สมาน อัศวภูมิ. (2557). การบริหารสถานศึกษาตามแนวการปฏิรูปการศึกษายุคใหม่. อุบลกิจออฟเซทการพิมพ์.
สุธรรม ธรรมทัศนานนท์. (2561). เอกสารคำสอน รายวิชา0501702 หลักการ ทฤษฎีและแนวปฏิบัติทางการบริหารการศึกษา. ภาคการบริหารและพัฒนาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
อภิชาติ รอดนิยม. (2564). เทคโนโลยีการศึกษากับการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ในยุคใหม่. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(9), 123-133. https://so04.tci-thaijo.org/index.php/JSBA/article/view/251294
อัจฉรา นิยมาภา. (2564). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาวิถีใหม่สู่คุณภาพการศึกษาที่พึงประสงค์ในบริบทที่เปลี่ยนแปลง. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 14(2), 178-195. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/edjour_stou/article/view/253277
Eisner, E. (1976). Education Connoisseurship and Criticism: Their Form and Function in Education Evaluation. Journal of Aesthetic Education, 10(3-4), 135-150.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 ปัญญา
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.