รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวทางโรงเรียนสอนคิดของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย

ผู้แต่ง

  • อรพิน สุภาวงศ์ โรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย

คำสำคัญ:

การพัฒนาสมรรถนะครู, การจัดการเรียนรู้แบบผสมผสาน, โรงเรียนสอนคิด

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวทางโรงเรียนสอนคิดของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย
2) สร้างและตรวจสอบรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวทางโรงเรียนสอนคิดของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย และ 3) ประเมินรูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวทางโรงเรียนสอนคิดของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย โดยใช้วิธีดำเนินการวิจัยและพัฒนา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า

รูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวทางโรงเรียนสอนคิดของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) หลักการของรูปแบบ 2) วัตถุประสงค์ของรูปแบบ 3) กระบวนการดำเนินงาน (CRPAO Model) มี 4 ด้าน คือ ด้านการพัฒนาหลักสูตร (Curriculum Development : C) ด้านการจัดลำดับเนื้อหา (Ranking Content : R) ด้านการเรียนรู้แบบปรับได้ (Adaptive Learning : A) ด้านการสร้างนวัตกรรมแบบมืออาชีพ (Professional Innovation : P) และด้านการประเมินโดยยึดวัตถุประสงค์ (Objective Based Evaluation : O) และ 4) เงื่อนไขความสำเร็จของรูปแบบ โดยผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่ารูปแบบการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้แบบผสมผสานตามแนวทางโรงเรียนสอนคิดของโรงเรียนองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย มีความครอบคลุม ความเหมาะสม ความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ อยู่ในระดับมาก

References

กษมา ชนะวงศ์. (2564). รูปแบบการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษาเพื่อส่งเสริมคุณลักษณะในศตวรรษที่ 21 ของนักเรียนโรงเรียนเอกชน [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยนเรศวร]. NU Intellectual Repository. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4055

ถนอมพร เลาหจรัสแสง. (2557). ทักษะแห่งศตวรรษที่ 21 เพื่อการพัฒนาอาจารย์ของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สำนักบริการเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

นงเยาว์ อุทุมพร. (2566). การนำผลการประเมินการเรียนรู้ไปใช้ประโยชน์. วารสารครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี, 1(1), 32-40. https://so13.tci-thaijo.org/index.php/DRUEDJ/article/view/109

พิเชษฐ ยังตรง, พิณสุดา สิริธรังศรี, และสินธะวา คามดิษฐ์. (2560). กลยุทธ์การพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในศตวรรษที่ 21. วารสารสุทธิปริทัศน์, 31(100), 1-12. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/DPUSuthiparithatJournal/article/view/243509

ไพลิน ภู่จีนาพันธุ์. (2565). เรื่องเล่าการเรียนรู้ออนไลน์สู่การเป็นนักวิจัยในยุคโควิด 19. ใน อานันท์ สีีห์พิทักษ์เกียรติิ, ธัญพิชชา อรินต๊ะ, จุฑามาศ สีธิ, และกิ่งกาญจน์์ ถุงแก้ว (บ.ก.), รายงานฉบับสมบูรณ์ผลโครงการส่งเสริมการจัดการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับศตวรรษที่ 21 ประจำปีการศึกษา 2564 (น.198-204).ศูนย์นวัตกรรมการสอนและการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

วรากร พิสดาร. (2565). รูปแบบการบริหารจัดการหลักสูตรเพื่อส่งเสริมทักษะอาชีพสำหรับโรงเรียนขยายโอกาสบนพื้นที่สูง สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาในจังหวัดเชียงราย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2564). การเรียนรู้ปรับได้ Adaptive Learning. ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตรและการเรียนรู้ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วิไลวรรณ วงศ์จินดา. (2558). ผลของการจัดการเรียนการสอนแบบผสมผสานโดยวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษาคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี.

วีระชัย ศรีวงษ์รัตน์ และศิริศักดิ์ จันฤาชัย. (2560). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะครูด้านการจัดการเรียนรู้ในสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาอุดรธานี เขต 1. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 23(1), 191-200. https://so02.tci-thaijo.org/index.php/jemmsu/article/view/148953

ศิริพร ศรีปัญญา และธรินธร นามวรรณ. (2560). การพัฒนาแนวทางเสริมสร้างสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญของครูในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาบึงกาฬ. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 8(2), 184-198. https://so20.tci-thaijo.org/index.php/JAD/article/view/442

ศักดิ์อนันต์ อนันตสุข. (2566). รูปแบบชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพที่เสริมสร้างสมรรถนะครูในการจัดการเรียนรู้ แบบผสมผสานร่วมกับการแก้ปัญหาเชิงสร้างสรรค์ เพื่อส่งเสริมความสามารถในการศึกษาค้นคว้าด้วยตนเองเชิงสร้างสรรค์ของนักเรียนโรงเรียนนารายณ์คำผงวิทยา. วารสารชุมชนแห่งการเรียนรู้วิชาชีพครู, 3(1), 30-47. https://so05.tci-thaijo.org/index.php/JTPLC/article/view/263236

สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2560). สรุปพระราชกระแสรับสั่งพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 9 และพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลที่ 10 เรื่อง การศึกษา. สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

อนุชิต กลิ่นกำเนิด. (2553). ระบบบริหารจัดการเรียนรู้แบบปรับเหมาะ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยศิลปากร]. Silpakorn University Repository. https://sure.su.ac.th/xmlui/handle/123456789/10869

อังคณา อ่อนธานี. (2564). การพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ของครูเพื่อส่งเสริมการคิดขั้นสูง สำหรับผู้เรียนชั้นมัธยมศึกษา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 23(4), 406-418. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/250297

Allen, I. E., & Seaman, J. (2010). Learning on Demand: Online Education in the United States, 2009. Sloan Consortium.

Bernath, R. (2012). Effectives Approaches to Blended Learning for Independent Schools. TestDEN. https://www.testden.com/partner/blended%20learning%20for%20independent%20schools.PDF

Chinyere, A. (2014). Human resource management in education: Issues and challenges. British Journal of Education, 2(7), 26-31.

Graham, C. R. (2012). Introduction to Blended Learning. Retrieved from http://www.media.wiley.com/product_data/except/86/C.pdf.

Horn, B. M., & Staker, H. (2011). The Rise of K-12 Blended Learning. Infosight Institute. https://www.christenseninstitute.org/wp-content/uploads/2013/04/The-rise-of-K-12-blended-learning.pdf

Vaziri, S. (2013). Effective Employment: A Basic Objective for Curriculum Design in Higher Education. International Journal of Academic Research in Progressive Education and Development, 2(4), 28-43.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-08-30