รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำสำคัญ:
รูปแบบการบริหารจัดการ, โรงเรียนชายขอบ, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานบทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) การประเมินรูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยใช้วิธีดำเนินการวิจัยและพัฒนา สถิติที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
รูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ 1) หลักการ 2) วัตถุประสงค์ 3) กระบวนการ คือ การวางแผน การดำเนินงาน การอำนวยการ และการติดตามประเมินผล 4) ปัจจัยสู่ความสำเร็จ โดยผู้ทรงคุณวุฒิมีความเห็นว่ารูปแบบการบริหารจัดการโรงเรียนชายขอบ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความเหมาะสมของรูปแบบอยู่ในระดับมากที่สุด ส่วนความเป็นไปได้ และความเป็นประโยชน์ของรูปแบบอยู่ในระดับมาก
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับผู้ด้อยโอกาสในเขตพื้นที่สูงและถิ่นทุรกันดาร สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ. กระทรวงศึกษาธิการ.
กัญญาพัชร พงษ์ดี, ไพรภ รัตนชูวงศ์, สุชาติ ลี้ตระกูล, และประเวศ เวชชะ. (2559). กลยุทธ์การบริหารแบบมีส่วนร่วมของไตรภาคีในการยกระดับคุณภาพผู้เรียนในโรงเรียนพื้นที่สูงภาคเหนือตอนบน. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 10(1), 162-179. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/GraduatePSRU/article/view/65002
ณรงค์ อภัยใจ. (2561) รูปแบบการบริหารจัดการศึกษาเพื่อส่งเสริมอาชีพ สำหรับเด็กด้อยโอกาส โรงเรียนในโครงการตามพระราชดำริ. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 12(1), 32-45. https://so01.tci-thaijo.org/index.php/FEU/article/view/73355
ทิฆัมพร สมพงษ์. (2559). รูปแบบการบริหารสถานศึกษาตามแนวคิดพหุวัฒนธรรมศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้ [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์]. PSU Knowledge Bank. http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11053
รังสิพล เปลี่ยนพันธุ์, ฉันทนา จันทร์บรรจง, ภานุวัฒน์ ภักดีวงศ์, และอนุชา กอนพ่วง. (2557). รูปแบบการบริหารศูนย์การเรียนรู้สำหรับเด็กไร้สัญชาติในเขตชายแดนไทย-พม่า. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 16(2), 104-118. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/17541
รัตนา จักกะพาก. (2559). การพัฒนารูปแบบการจัดการศึกษาสำหรับบุตรแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศิลปากร]. DSpace at Silpakorn University. http://ithesis-ir.su.ac.th/dspace/handle/123456789/133
ศุภมาศ ช่างมี และจิติมา วรรณศรี. (2561). รูปแบบการบริหารเพื่อส่งเสริมความเป็นพลเมืองของนักเรียนในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(1), 176-183. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/115561
สกชาติ วินิตกฤษฎา. (2565). ทิศทางการจัดการศึกษาสำหรับโรงเรียนที่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ตามแนวชายแดนด้านตะวันตกของภาคเหนือตอนล่าง [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยนเรศวร]. NU Intellectual Repository. http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5035
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). ยุทธศาสตร์และเงื่อนไขสู่ความสำเร็จในการดำเนินการบริหารจัดการ เพื่อสร้างความเข้มแข็งและยกระดับคุณภาพการศึกษาของโรงเรียนชายขอบภาคเหนือ. สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2560ก). แผนพัฒนาการศึกษาพื้นที่ชายแดน (พ.ศ. 2560-2564). สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ. (2560ข). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564). กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2560). แผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560-2579. กระทรวงศึกษาธิการ. https://backoffice.onec.go.th/uploaded/Outstand/2017-EdPlan60-79.pdf
สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. (2558). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ พ.ศ. 2558-2564. สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ. https://www.nsc.go.th/wp-content/uploads/2018/08/policy58.pdf
สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์. (2561). รายงานการวิจัยการศึกษาความเป็นพลเมืองของผู้เรียนในสถานศึกษาสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ. สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.
สุบัน พรเวียง. (2558). รูปแบบการจัดการศึกษานอกระบบในการศึกษาขั้นพื้นฐานบนพื้นที่สูงและชายแดนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกระทรวงศึกษาธิการ. วารสารศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยนเรศวร, 17(3), 52-59. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/39219
องค์การยูนิเซฟแห่งประเทศไทย. (2559). ผู้บริหารโรงเรียน: ความหวังของเด็กด้อยโอกาสในพื้นที่สูงและถิ่นทุรกันดาร. องค์การยูนิเซฟแห่งประเทศไทย.