ความสุข 5 ชั้น
คำสำคัญ:
ความสุข 5 ชั้นบทคัดย่อ
ความจริงของธรรมชาตินั้น ร่างกายเป็นแค่เพียงธาตุขันธ์ที่มีจิตวิญญาณครอบครองด้วยกิเลสและตัณหาที่เป็นตัวชักพาให้จิตนั้นให้หลง เป็นตัวก่อปัญหาให้เกิดความทุกข์เพราะการปรุงแต่งของกิเลส เมื่อเกิดปัญญารู้ชัดตามสภาวะของธรรมชาติจิตสามารถมองเห็นความทุกข์ที่เป็นอยู่และการดำเนินชีวิตอันประกอบไปด้วยปัญญา เพื่อให้ชีวิตอยู่เหนือการปรุงแต่งของกิเลสและตัณหา บุคคลมักจะมีความสุขและความทุกข์ในการดำเนินชีวิต มันเป็นสัจธรรมที่เกิดจากธรรมชาติ การเป็นอยู่ด้วยปัญญารู้เท่าทันความจริงของโลกและชีวิตจึงเป็นชีวิตที่มีความสุขที่แท้จริง
References
เขมรังษีโพธิ์ ภิกขุ. (2561). สติพัฒนา 4. กรุงเทพฯ: ทองอุตสาหกรรม.
พระคันธสาราภิวงศ์. (2551). ส่องธรรม. กรุงเทพฯ: ไทยรายวัน.
พระธรรมโกศาจารย์ (พุทธทาสภิกขุ). (2553). สูตรเป็นเรื่องที่น่าสังเวชมาก เพื่อยุติความสุขที่ยิ่งใหญ่. กรุงเทพฯ: ธรรมศาลา.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2550). พจนานุกรมศัพท์พระพุทธศาสนาฉบับ. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
________. (2555). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 23). กรุงเทพฯ: ผลิธัมม์.
วศิน อินทสระ. (2558). ความเข้าใจเกี่ยวกับชีวิต. (พิมพ์ครั้งที่ 2). สมุทรปราการ: ชมรมกัลยาณธรรม.
________. (2562). ศีลสมาธิปัญญา. กรุงเทพฯ: ทองอุตสาหกรรม.