การจัดการ “การครอบงำทางวัฒนธรรมแบบใหม่” ของตลาดต้องชม

ผู้แต่ง

  • พระครูปริยัติกิตตยาภรณ์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

คำสำคัญ:

การจัดการ, การครอบงำทางวัฒนธรรม, ตลาดต้องชม

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้ ต้องการเปิดมุมมองการจัดการเกี่ยวกับตลาดต้องชมว่า เป็นการครอบงำสังคมผ่านวัฒนธรรมการบริโภคในชีวิตประจำวัน โดยการนำตลาดที่มีอยู่แล้วไปติดแบรนด์ ติดฉลากใหม่จากของเก่าให้เป็นของใหม่ผ่านกลไกของรัฐ โดยใช้งานของ เฟรดริค เจมสัน “กับการเปิดตัวสกุลความคิดแบบหลังสมัยใหม่นิยม” หลังสมัยใหม่นิยม ในฐานะเครื่องมือวิพากษ์ตลาดต้องชม ผ่านลักษณะสำคัญของสังคม และ วิธีคิดแบบสมัยใหม่ ของ เฟรดริค เจมสัน 5 ประการ ได้แก่ 1) การรับรู้แบบเนื้อหาสาระไม่สำคัญเท่ากับภาพที่เห็น 2) วัฒนธรรมแบบจับฉ่าย การถวิลหาสิ่งที่ขาดหายไปในปัจจุบันด้วยการโหยหาอดีต 3) การล่มสลายของห่วงโซ่ 4) ความหมาย การผลิตซ้ำเทคโนโลยีและความหมาย และ 5) การเปลี่ยนแปลงของพื้นที่ที่มนุษย์สร้างขึ้นผ่านตลาดต้องชม เป็นต้น

References

Belsey, C. (2006). Author of Apinya Booming, Sakul. Translation, Behind the popular structure. Poststructuralism: A Very Short Introduction Sirindhorn Anthropology Public Organization.
Chairat Chareonsinlarn Introduction to surnames. (2017). ideas behind structuralism : Introducing Poststructuralism.
Marketing Promotion and Management Division. (2015). Department of Internal Trade, Ministry of Commerce 563 Nonthaburi Road, Bang Kraso Subdistrict, Mueang District, Nonthaburi Province 11000, [Online] Source http://mwsc.dit.go.th,10 August 2018.
Ministry of Interior. (2018). Guidelines for the implementation of the civil state market project. [Online] Source: http://www.market.moi.go.th/download/ manaul.pdf, 13 November 2018.
Marketing System Promotion and Management Division Department of Internal Trade Ministry of Commerce Kad Thung Kwian 563 Nonthaburi Road, Bang Kraso Subdistrict, Mueang District, Nonthaburi Province 11000, Building 2, Floor 7, Room 20711 [Online] Source: http://mwsc.dit.go.th, 9 August 2018.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-25

ฉบับ

บท

บทความวิชาการ (Academic Article)