การพัฒนาอัตมโนทัศน์กับความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของเยาวชนไทย

ผู้แต่ง

  • จุไรรัตน์ ทองคำชื่นวิวัฒน์

คำสำคัญ:

การพัฒนาอัตมโนทัศน์; ความรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง; เยาวชนไทย

บทคัดย่อ

อัตมโนทัศน์เป็นผลรวมทั้งหมดของลักษณะประจำตัว ความสามารถ ค่านิยม และเจตคติ ที่บุคคลเชื่อว่า เป็นสิ่งอธิบายตัวเขาว่าเป็นอย่างไร เป็นใคร เป็นอะไร ซึ่งนำไปสู่การประเมินความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองที่บุคคลมีต่อตนเองในด้านดีและไม่ดี การยอมรับ ความเชื่อมั่น ความสามารถ ความสำเร็จในการทำงาน ความล้มเหลว ความมีคุณค่า และมีประโยชน์ต่อสังคม ตลอดจนการได้รับการยอมรับนับถือจากสังคม การพัฒนาอัตมโนทัศน์ของเยาวชนไทยในทางที่ดีได้จากการส่งเสริมอัตมโนทัศน์ที่เหมาะสม ได้จากการสื่อสารการเรียนรู้ทางสังคม การอบรมเลี้ยงดูที่อบอุ่นจากครอบครัว การดูแลที่ดีจากโรงเรียนหรือครูและกลุ่มเพื่อน เพื่อสามารถเข้าใจถึงจิตใจตนเองที่จะปกป้องตนเองจากอิทธิพลของสิ่งที่ทำให้ยั่วยุต่าง ๆ มีความรับผิดชอบ และการให้ความช่วยเหลือต่อส่วนรวม เปิดโอกาสให้คิดหาทางเลือกและตัดสินใจแก้ปัญหา ให้การสนับสนุนกำลังใจ ให้ข้อมูลย้อนกลับทางบวก และเสริมสร้างวินัยในตนเอง

Downloads

Download data is not yet available.

References

จรัญญา ขันกฤษณ์. (2543). การเห็นคุณค่าในตนเองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดศรีสุพรรณ จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนวบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ชวลี ดวงแก้ว. (2541). การศึกษามโนภาพแห่งตนแบบข้ามวัฒนธรรมของเด็กวัยรุ่นไทยและเด็กวัยรุ่นอังกฤษ.วารสารมนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 20(2) : 77 - 81.

ทฤษฎีการสื่อสารขั้นพื้นฐาน. (18 สิงหาคม 2559). การสื่อสารภายในตัวบุคคล. http://e-book.ram.edu/e-book/m/mc111/mc111_03_03.html

พรรณี ชูทัย เจนจิต. (2538). จิตวิทยาการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : บริษัทคอมแพคท์พริ้นท์จำกัด.

พรรณี ชูทัย เจนจิต. (2540). พัฒนาการทางบุคลิกภาพและแรงจูงใจ. ภาคจิตวิทยาการศึกษาและการแนะแนว คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

เรียม ศรีทอง. (2542). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ : บริษัทเชิคเวฟเอ็ดดูเคชั่นจำกัด.

สุกัญญา พีระวรรณกุล. (2541). ผลการใช้โปรแกรมฝึกทักษะการสื่อสารระหว่างบุคคลต่อความสํานึกในคุณค่าตนเองของวัยรุ่นชายในสถานสงเคราะห์. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

อุทัยวรรณ พิทักษ์วรพันธ์. (2545). ความสำนึกในคุณค่าแห่งตนของวัยรุ่น. วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต สาขาวิชาสุขภาพจิตและการพยาบาลจิตเวช บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Ausubel, D. P. (1959). School Learning. New York : Holt Rinchart and Winston Inc.

Coopersmith, S. (1981). The Antecedents of Self-Esteem. Palo Alto, California : Consulting Psychologists Press.

Coopersmith, S. (1984). SEI: Self-Esteem Inventories. California: Consulting Psychologist Press,Inc.

Devito, J. A. (2005). Essentials of Human Communication. (5thed). Boston, MA :Allyn & Bacon.

Dusek, J. B. (1985). Adolescent Development and Behavior. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice Hall.

Fitt, W. H. (1971). The Self Concept and Self Actualization. Nashville, Tennessee : Counselor Recording and Tests.

Heider Fritz. (1946). Attitudes and Cognitive Organization. The Journal of Psychology, 21: 107– 112.

Jersild, A. T., C.W. Telford and J. N. Sawrey. (1975). Child Psychology. New York : Prentice-Hall, Inc.

Newman, B. M., and P. R. Newman. (1986). Adolescent Development. Columbus : Merrill Publishing Company.

Maslow, A. H. (1970). Motivation and Personality. (2nded). New York : Harper & Row. Pennsylvania: W.B. Saunders.

Massie Joseph L. and John E. Douglas. (1992). Managing : A Contemporary Introduction. Englewood Cliffs, New Jersey : Prentice-Hall.

Roger, C. R. (1951). Client Center Therapy: It’s Current Practice Implication and Theory. Boston : Houghton Mifflin Company.

Roger, C. R. (1970). On Becoming a Person.A Therapist's View of Psychotherapy. Boston : Houghton Mifflin.

Trojanowicz, R. C. and M. Merry. (1987). Juvenile Delinquency : Concept and Control. (4thed.). New Jersey : Prentice-Hall Inc.

เผยแพร่แล้ว

2022-02-01