แนวคิด 12 เสียงกับความสัมพันธ์ของบันไดเสียง

Authors

  • ลัญฉนะวัต นิมมานรตนกุล

Keywords:

twelve tone, Scales

Abstract

การประพันธ์เพลงในศตวรรษที่ 20 นั้นมีความหลากหลายทางด้านดนตรีเป็นอย่างมาก มีการพัฒนาแนวคิดต่างๆ อย่างมากมายจากอารยชนทั่วโลกจึงถือเป็นยุคแห่งการพัฒนา และรังสรรค์สิ่ง ที่เป็นประโยชน์อย่างมากสู่การรับรู้ของมนุษยชาติแห่งศตวรรษที่ 21 ดนตรี 12 เสียงกับความสัมพันธ์ของบันไดเสียง ไม่ได้เป็นการนําเสนอการเรียงลําดับของระบบ แถวโน้ตสิบสองตัว (Serial music) แต่เกิดขึ้นจากการนําบันไดเสียงต่างๆ มาเป็นทิศทางใน  การสร้างทํานอง และการประสานเสียงที่เกิดจากจินตภาพแห่งเสียง เนื่องจากการนําเสนอในบทเพลง บางขณะไม่ได้นําเสนอ ครบทั้ง 12 เสียง แต่บันไดเสียงที่นํามาใช้จะสร้างจินตภาพแห่งเสียงให้กับผู้ฟังเอง เพราะความสัมพันธ์แห่งสัมพันธภาพของบันไดเสียงซึ่งเกิดจากการรวมโครงสร้างของ 2 บันไดเสียงที่รวมกันแล้ว สามารถสร้างเสียงได้ครบทั้ง 12 เสียง ผู้ประพันธ์จึงนําเสนอแนวคิดออกเป็น 2 แนวทางคือ บันไดเสียง 3 กลุ่ม และบันไดเสียง 4 กลุ่ม

References

1. ราชบัณฑิตยสถาน. (2548). ศัพท์ดนตรีสากล, กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อรุณการพิมพ์
2. ลัญฉนะวัต นิมมานรตนกุล. (2551). หลักการประพันธ์เพลง. นนทบุรี: สํานักพิมพ์นิมมานรตนกุล.
3. Bandur, M. (2001). Aesthetics of Total Serialism Contemporary from Music to Architecture. Basel; Boston; Berlin: Birkhauser.
4. Haerle, D. (1975). Scales For Jazz Improvisation. U.S.A.: Belwin.
5. Kostka, S. (1990). Materials and Techniques of Twentieth-Century Music. U.S.A.: Prentice-Hall, Inc.
6. _____. (2000). Tonal Harmony with an Introduction to Twentieth-Century Music (4th ed.). U.S.A.: McGraw-Hill Companies.
7. Watkins G. (1988), Soundings Music in the Twentieth Century. U.S.A.: A Division of Macmillan, Inc.

Downloads

Published

08.08.2018

How to Cite

นิมมานรตนกุล ลัญฉนะวัต. 2018. “แนวคิด 12 เสียงกับความสัมพันธ์ของบันไดเสียง”. Rangsit Music Journal 4 (1):37-51. https://so06.tci-thaijo.org/index.php/rmj/article/view/138902.

Issue

Section

บทความวิชาการ | Academic Article