ความเข้าใจต่อคำว่า “สยาม” “ไทย” และ “ลาว” ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19

Main Article Content

ฐนพงศ์ ลือขจรชัย

บทคัดย่อ

             บทความนี้ ต้องการศึกษาความเข้าใจต่อคำว่า “สยาม” “ไทย” และ “ลาว” ในเอกสาร 2 กลุ่มได้แก่ 1) หลักฐานในท้องถิ่น เช่น จารึก ตำนาน หรือพงศาวดาร เป็นต้น และ 2) บันทึกการเดินทางของชาวตะวันตก ว่ามีความหมายเหมือนกันหรือไม่? และมีความสัมพันธ์กันเช่นไร ศึกษาโดยใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ ในการวิเคราะห์และสังเคราะห์เอกสาร เพื่อสำรวจความหมายและนัยยะแฝงที่อยู่ในการใช้คำว่า “สยาม” “ไทย” และ “ลาว” ในเอกสารทั้ง 2 กลุ่ม และเพื่อช่วยเสริมความเข้าใจต่อความขัดแย้งเรื่องชาติหรือชาติพันธุ์ไทยและลาวในปัจจุบัน


            จากการศึกษาพบว่า คำว่า “ไทย” และ “ลาว” ที่ปรากฏในภูมิภาคนี้ก่อนคริสต์ศตวรรษที่ 19 มิได้มีความหมายหรือนัยยะที่เป็นชื่อของชาติหรือชาติพันธุ์แบบในยุโรป แต่เป็นคำที่เป็นสามัญนามใช้สำหรับเรียกบุคคล หรือแสดงสถานะของบุคคล ส่วนคำว่า “สยาม” นั้นเป็นคำที่คนนอกตระกูลภาษาไทใช้เรียกกลุ่มคนที่ใช้ภาษาไท (ทั้งไทย ลาว และอื่น ๆ) ในลักษณะเหมารวม (stereotype) คำว่า “สยาม” “ไทย” และ “ลาว” จึงเป็นคำที่ลื่นไหลไม่สามารถระบุชี้ชัดไปได้ว่าหมายถึงคนกลุ่มใด อย่างไรก็ดี เมื่อคำเหล่านี้ปรากฏในบันทึกของชาวตะวันตก ด้วยญาณวิทยาที่แตกต่างกัน คำว่า “สยาม” “ไทย” และ “ลาว” ได้กลายเป็นชื่อของชาติ (nation) ที่มีความเฉพาะเจาะจงและทำให้ไทยและลาวได้กลายเป็นคนละชาติอย่างชัดเจน บันทึกเหล่านี้ได้กลายมาเป็นหลักฐานการดำรงอยู่ของชาติไทยและลาวที่แยกกันอย่างเด็ดขาดและกลายเป็นรากฐานของการสร้างชาติไทยและลาวในเวลาต่อมา

Downloads

Download data is not yet available.

Article Details

บท
Articles

References

Anderson, B. (2014). ชุมชนจินตกรรม บทสะท้อนว่าด้วยกำเนิดและการแพร่ขยายของชาตินิยม [Imagined Communities Reflections on the Origin and Spread of Nationalism]. Bangkok: Textbooks Foundation.

Anderson, B. (2015). ศึกษารัฐไทย ย้อนสภาวะไทยศึกษา [Studies of the Thai State: The State of Thai Studies]. Bangkok: Samesky Books Publishing.

Chulalongkorn, King. (2009). พระราชพิธีสิบสองเดือน พระราชนิพนธ์ใน พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว [Twelve Month ritual. Thesis in His Majesty King Chulalongkorn]. Bangkok: Rakhangthong.

Damrong Rajanubhab, Prince. (2017). ขุนช้างขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ [Khun Chang Khun Phaen Wachirayan Library edition]. Bangkok: Wachirayan Library.

Damrong Rajanubhab, Prince. (2021). พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา (พิมพ์ครั้งที่ 10) [Royal chronicle Royal Letter version] (10th ed.). Bangkok: Si Panya.

Dodd, W.C. (2019). ชนชาติไทย วิลเลียม คลิฟตัน ด็อดด์ [The Tai Race William Clifton Dodd]. Bangkok: Si Panya.

Gervaise, N. (2007). ประวัติศาสตร์ธรรมชาติและการเมืองแห่งราชอาณาจักรสยาม (พิมพ์ครั้งที่ 2) [The Natural and Political History of the Kingdom of Siam] (2nd ed.). Bangkok: Si Panya.

Hutchinson, J. & Smith, A. (1994). Nationalism. New York: Oxford University Press.

Iijima, A. (2018). The Invention of “Isan” History. Journal of the Siam Society, 106, 171 - 200.

Kasetsiri, C. (ed.). (2010). สยาม หรือ ไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2) [Siam or Thai] (2nd ed.). Bangkok: Textbooks Foundation.

Kasetsiri, C. (ed.). (2012). ประมวลแผนที่: ประวัติศาสตร์ - ภูมิศาสตร์ - การเมือง กับลัทธิอาณานิคมในอุษาคเนย์ [Map Collection: History - Geography - Politics with colonialism in Southeast Asia]. Bangkok: Textbooks Foundation.

Keyes, C. F. (1992). Who are the Lue Revisited? Ethnic Identity in Laos, Thailand, and China. Cambridge: MIT.

La Loubère, S. (2009). จดหมายเหตุลาลูแบร์ (พิมพ์ครั้งที่ 3) [Du Royaume de Siam]. (3rd ed.). Bangkok: Si Panya.

Leahai, M. (2016). ว่าด้วยหลายเรื่องในล้านนาประเทศ [Concerning many matters in Lanna countries]. Nonthaburi: Sawasdee Online.

Luekajornchai, T. (2019). เสียดินแดนมลายู: ประวัติศาสตร์ชาติฉบับ Plot Twist [Loss Malaya territory: national history Plot twist version] Bangkok: Matichon.

Mektrairat, N. (2006). แนวความคิดชาติบ้านเมือง: กำเนิด พัฒนาการและอำนาจการเมือง [The concept of nation and country: origin, development and political power]. Thammasat Journal, 27(2), 2 - 41.

Mouhot, H. (2015). บันทึกการเดินทางของอ็องรี มูโอต์ ในราชอาณาจักรสยาม กัมพูชา ลาว และอินโดจีนตอนกลางส่วนอื่น ๆ [Travels in the Central Parts of Indo - China (Siam), Cambodia, and Laos, and indochina]. Bangkok: Matichon.

Museum Siam. (2018). การเดินทางของ “ขวัญ” [Travel of Khwan]. Retrieved October 21, 2018, from https://www.museumsiam.org/m/da-detail2.php?MID=0&CID=177&CONID=3391.

Pallegoix, J. (2009). เล่าเรื่องกรุงสยาม (พิมพ์ครั้งที่ 4) [Descripthion de Royaume Thai ou Siam] (4th ed.). Bangkok: Si Panya.

Pasutarnchat, P. (2019). เมื่อใดจึงเป็นชาติ [When is a nation?]. Bangkok: Illumination Edition.

Peleggi, M. (2002). Lords of Things: The Fashioning of the Siamese Monarchy's Modern Image. Hawaii, USA: University of Hawaii Press.

Phetchlertanan, T. (2013). วาทกรรมเสียดินแดน [Lost territory discourse]. In Kasetsiri, C. (ed.). สยามประเทศไทย: ได้ดินแดน - เสียดินแดนกับลาวและกัมพูชา [Siam Thai state: gain - loss Laos and Cambodia territory]. Bangkok: Textbooks Foundation.

Phumisak, C. (2019). ความเป็นมาของคำสยาม, ไทย ลาว และขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ (พิมพ์ครั้งที่ 7) [The background of the Siamese, Thai, Lao and Khmer words and social characteristics of the names of the nations, complete version] (7th ed.). Bangkok: Thai quality book.

Prachakitkonchak, Phaya. (1961). พงศาวดารโยนก ฉบับ หอสมุดแห่งชาติ [Yonok chronicle national library version]. Bangkok: Rung Ruang Rat.

Pramuanwichaphun, Phaya. (1992). พงศาวดารเมืองล้านช้างและลำดับสกุลสิทธิสาริบุตร ราชตระกูลล้านช้างเวียงจันทร์ [Chronicles of Lan Xang and Siddhisariputra Lan Xang Royal Family, Vientiane]. Print in Memorial at the cremation ceremony of Mom Chaweethip Diskun Na Ayutthaya Wat Thepsirinthawas.

Sathiankoset, Y. (1940). เรื่องของชาติไทย [Story of Thai nation]. Bangkok: Thai Kasem.

Satyawadhna, C. (2018). ด้ำ แถน กำเนิดรัฐไท สาวรกรากต้นตอ คนไท ชุมชนไท - ลาว และความเป็นไท / ไต / ไทย / สยาม [Dam Than, origin of Thai state, roots of the Tai people, Tai - Lao community, and Tai / Tai / Thai / Siam hood]. Bangkok: Chon Niyom.

Sawatdikun, S. (1964). เรื่อง “สยาม” หมายความว่ากระไร? [What is Siam mean?]. Bangkok: Siwaphon.

Streckfuss, D. (1987). Creating the “Thai”: The Emergence of Indigenous Nationalism in Non - Colonial Siam, 1850–1980. (M.A. thesis in History, University of Wisconsin - Madison).

Streckfuss, D. (1993). The Mixed Colonial Legacy in Siam: Origins of Thai Racialist Thought, 1890 - 1910. In J. Sears, L. (ed.), Autonomous Histories: Essays in Honor of John R. W. Smail. Madison: Center for Southeast Asian Studies, University of Wisconsin.

Streckfuss, D. (2012). An 'ethnic' reading of 'Thai' history in the twilight of the century - old official 'Thai' national model. South East Asia Research, 20(3), 305 - 327.

Sukhothai Thammathirat Open University. (2008). สยามหรือไทย จากการอภิปรายของสมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ [Siam or Thailand from the discussion of the members of the Constituent Assembly]. Bangkok: Sukhothai Thammathirat Open University.

Walker, A. (2008). Borders in Motion on the Upper - Mekong: Siam and France in the 1890s. France: Ecolefrancaise D’Extreme - Qrient.

Wichitmattra, Khun. (1975). หลักไทย (พิมพ์ครั้งที่ 7) [Thai core] (7th ed.). Bangkok: Bandit Kanpim.

Winichakul, T. (2013). กำเนิดสยามจากแผนที่: ประวัติศาสตร์ภูมิกายาของชาติ [Siam Mapped: A History of the Geo - Body of a Nation]. Bangkok: Read Publisher.

Wongthes, S. (1987). คนไทยไม่ได้มาจากไหน [Thai people come from Nowhere]. Bangkok: Chaophraya.

Wongthes, S. (2018A). คนไทยเป็นชาวสยาม ของชาวยุโรปยุคอยุธยา [Thai is Siam of European in Ayutthaya Period]. Bangkok: Matichon Weekly Vol. 16 - 22 February 2018.

Wongthes, S. (2018B). ลาวปนเขมร ในกรุงศรีอยุธยา [Laos mix with Cambodia in Ayutthaya]. Bangkok: Matichon Weekly Vol. 9 - 15 March 2018.

Wongthes, S. (2018C). ลาวพวนเลาะทางหลวง เพลงดนตรีไทย สำเนียงลาว [Lao Puan along the highway, Thai music, Lao accent]. Bangkok: Matichon Weekly Vol. 21 - 27 August 2018.

Wongthes, S. (2018D). ลาวลุ่มน้ำโขง โยกย้ายลงไปเป็น ไทยลุ่มน้ำเจ้าพระยา [Laos in Mekong Basin migrate down to Thailand, Chao Phraya River Basin]. Bangkok: Matichon Weekly Vol. 2 - 8 March 2018.

Wongthes, S. (2018E). ล้านช้าง - ล้านนา “ลาว” สองมาตรฐาน ในทัศนะของคนไทย [Lanna - Lanchang “Laos” in two standard of Thai people]. Retrieved November 11, 2018, from https://www.matichonweekly.com/culture/article_24013.

Wright, Mi. (2005). ภูมิศาสตร์ - ประวัติศาสตร์สยาม: เอกสารชั้นต้นสมัยสมเด็จพระนารายณ์ที่เปิดเผยใหม่ [Geonology - History of Siam: Newly Primary document in Narai Period]. Art & Culture Magazine, 26(4), 90 - 94.