พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
พระมหากษัตริย์นักสารสนเทศ
คำสำคัญ:
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชบทคัดย่อ
บทความนี้วิเคราะห์พระปรีชาสามารถและพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดชต่อวงการบรรณารักษศาสตร์และสนเทศศาสตร์ ทรงมีบทบาทสำคัญอย่างสูงยิ่งในการจัดการสารสนเทศทั้งในกระบวนการผลิตสารสนเทศ การจัดระบบและการพัฒนาระบบสารสนเทศ การถ่ายทอด กระจายและเผยแพร่สารสนเทศ และการใช้สารสนเทศ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราชจึงได้ขอพระราชทานทูลเกล้าทูลกระหม่อมถวายปริญญาศิลปศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ แขนงวิชาสารนิเทศศาสตร์ เมื่อพ.ศ. 2541 เพื่อเฉลิมพระเกียรติให้ปรากฏแผ่ไพศาลสืบไป
Downloads
Download data is not yet available.
References
กรมทรัพย์สินทางปัญญา. (2555). อัจฉริยราชา ผู้สร้างสรรค์ภูมิปัญญาแห่งแผ่นดิน.
กรุงเทพ ฯ กระทรวงพาณิชย์.
ชุติมา สัจจานันท์. (2539). ราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระปรีชาญาณด้านการสื่อสาร.
วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 9(3), 5-10.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...นักเขียน. กุลสตรี, 29(690), 68-71.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...นักแปล. กุลสตรี, 29(689), 65-66.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...นักภาษา. กุลสตรี, 29(688), 12-14.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...ครุราชันย์. กุลสตรี, 29(693), 63-66.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...ครุราชันย์. กุลสตรี, 29(694), 64-68.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...นักสารสนเทศ. กุลสตรี, 29(691), 68-70.
ชุติมา สัจจานันท์. (2546). พระมหากษัตริย์...นักสื่อสาร. กุลสตรี, 29(692), 68-70.
ครูและพระราชกรณียกิจด้านการศึกษา. ใน 25 ปี มสธ. 25 ปีแห่งการสร้างสรรค์บัณฑิตคุณภาพ
(หน้า 18-31). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานแก่คณะสมาชิกห้องสมุดทั่วประเทศในโอกาสที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท
เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2514.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2532). คำประกาศราชสดึดีเฉลิมพระเกียรติคุณ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในวโรกาสทูลเก้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเกษตรศาสตร์.
เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบรรณสาสนเทศ. (2560). มสธ. ใต้ร่มพระบารมี
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. นนทบุรี: สมาคมสุโขทัยธรรมาธิราชฯ.
สุเมธ ตันติเวชกุล. (2538). ในหลวงกับการพัฒนาประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ.
ในไอทีเพื่อประชาชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ.
กรุงเทพ ฯ กระทรวงพาณิชย์.
ชุติมา สัจจานันท์. (2539). ราชสดุดีเฉลิมพระเกียรติพระปรีชาญาณด้านการสื่อสาร.
วารสารสุโขทัยธรรมาธิราช, 9(3), 5-10.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...นักเขียน. กุลสตรี, 29(690), 68-71.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...นักแปล. กุลสตรี, 29(689), 65-66.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...นักภาษา. กุลสตรี, 29(688), 12-14.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...ครุราชันย์. กุลสตรี, 29(693), 63-66.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...ครุราชันย์. กุลสตรี, 29(694), 64-68.
ชุติมา สัจจานันท์. (2542). พระมหากษัตริย์...นักสารสนเทศ. กุลสตรี, 29(691), 68-70.
ชุติมา สัจจานันท์. (2546). พระมหากษัตริย์...นักสื่อสาร. กุลสตรี, 29(692), 68-70.
ครูและพระราชกรณียกิจด้านการศึกษา. ใน 25 ปี มสธ. 25 ปีแห่งการสร้างสรรค์บัณฑิตคุณภาพ
(หน้า 18-31). นนทบุรี: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดชพระราชทานแก่คณะสมาชิกห้องสมุดทั่วประเทศในโอกาสที่เข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท
เมื่อวันที่ 25 พฤศจิกายน 2514.
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. (2532). คำประกาศราชสดึดีเฉลิมพระเกียรติคุณ
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
ในวโรกาสทูลเก้าฯ ถวายปริญญาวิทยาศาสตรดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ สาขาเกษตรศาสตร์.
เชียงใหม่ : มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. สำนักบรรณสาสนเทศ. (2560). มสธ. ใต้ร่มพระบารมี
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช. นนทบุรี: สมาคมสุโขทัยธรรมาธิราชฯ.
สุเมธ ตันติเวชกุล. (2538). ในหลวงกับการพัฒนาประเทศและเทคโนโลยีสารสนเทศ.
ในไอทีเพื่อประชาชน. กรุงเทพฯ: ศูนย์เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์และคอมพิวเตอร์แห่งชาติ.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
2017-12-29
How to Cite
ฉบับ
บท
บทความวิชาการ