ความสัมพันธ์ระหว่างการเรียนรู้แบบผสานวิธี ห้องเรียนกลับด้าน พื้นที่การเรียนรู้ และการเรียนรู้เชิงรุก

ผู้แต่ง

  • สุรไกร นันทบุรมย์ โรงเรียนกำเนิดวิทย์

คำสำคัญ:

การเรียนรู้เชิงรุก, ห้องเรียนกลับด้าน, พื้นที่การเรียนรู้

บทคัดย่อ

การเรียนรู้เชิงรุกเป็นการเรียนที่ผู้เรียนเป็นฝ่ายดำเนินการลงมือเรียนรู้ด้วยตนเองแทนที่จะเป็นฝ่ายรับความรู้จากผู้สอนเพียงอย่างเดียว ซึ่งเป็นการเรียนรู้ที่สามารถจัดให้ตอบสนองกับรูปแบบการเรียนรู้ของผู้เรียนได้หลากหลาย และส่งผลทางบวกกับผลการเรียนรู้ของผู้เรียน การจัดการเรียนรู้เชิงรุกยังสามารถจัดร่วมกับหลักการเรียนรู้แบบผสานวิธีที่ช่วยให้ผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้อย่างต่อเนื่องทั้งในและนอกห้องเรียนแบบไม่จำกัดเวลาและสถานที่ เพียงมีอุปกรณ์ที่สามารถเข้าถึงอินเทอร์เน็ตได้ และหลักการห้องเรียนกลับด้านที่ให้
บทบาทผู้เรียนได้เรียนรู้บทเรียนล่วงหน้าสามารถช่วยให้การจัดการการเรียนรู้ในห้องเรียนเป็นไปอย่างเข้มข้นลุ่มลึก และรอบด้านมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้การจัดพื้นที่การเรียนรู้ให้เหมาะสมกับการจัดกิจกรรมในห้องเรียนยังช่วยส่งเสริมผลการเรียนรู้ได้ และพื้นที่การเรียนรู้ที่เหมาะสมนอกห้องเรียนสามารถช่วยสนับสนุนกิจกรรมการเรียนรู้นอกเวลาเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพอีกด้วย ทั้งหมดนี้มีความสัมพันธ์อย่างเป็นระบบที่สนับสนุนให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้เชิงรุกมีความหลากหลายและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้ยังช่วยลดข้อจำกัดหากมีการจัดการที่ถูกต้องและเหมาะสมกับบริบททางการศึกษา

Downloads

Download data is not yet available.

References

แขมมณี. (2558). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ
(พิมพ์ครั้งที่ 19). กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณืมหาวิทยาลัย.

Andrew, C., & Wright, S. E. & Raskin, H. (2015). Library learning spaces: Investigating libraries and investing in student feedback. Journal of Library Administration, 56(6), 647-672.

Andrews, TM, Leonard, MJ, Colgrove, CA, & Kalinowski, ST (2011). Active learning not associated with student learning in a random sample of college biology courses. CBE Life Scencei Education, 10(4), 394-405.

Bailey, J., Ellis, S., Schneider C., & Ark, T. V. (2013). Blended learning implementation guide.
Foundation for Excellence in Education.

Bishop, J. L. & Verleger, M. A. (2013). The flipped classroom: A survey of the research. In ,American Society for Engineering Education, 120th ASEE Annual Conference & Exposition.
Retrieved from https://www.asee.org/public/conferences/20/papers/6219/view

Bonwell, C. C., & Eison, J. A. (1991). Active learning: Creating excitement in the classroom .
ASHE-ERIC Higher Education Rep. No. 1.

Brame, C., (2013). Flipping the classroom. Vanderbilt university center for teaching.
Retrieved from http://cft.vanderbilt.edu/guides-sub-pages/flipping-the-classroom/.

Brooks, D. C. (2010). Space matters: The impact of formal learning environments on student
learning. British Journal of Educational Technology, 42(5), 719-726.
DOI: 10.1111/j.1467-8535.2010.01098.x

Byers, T., Imms, W. & Hartnell-Young (2014). Making the case for space:
The effect of learning spaces on teaching and learning. Curriculum and Teaching, 29(1), 5-19.
DOI:10.7459/ct/29.1.02

Cornell Center for Teaching Excellent. (2016).
Retrieved from https://www.cte.cornell.edu/teaching-ideas/engaging-students/active-learning.html

Cynthia, E. H. (2014). Preparing students for class: How to get 80% of students reading the
textbook before class. American Journal of Physics, 82(989), 989-996.

Debra, M. (2012). Blended Learning Creating Learning Opportunities for Language Learners.
New York: Cambridge University Press.

Educause. (2012). 7 things you should know about flipped classrooms.
Retrived from https://library.educause.edu/~/media/files/library/2012/2/eli7081-pdf.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-29