การจัดการศึกษาและการประกอบอาชีพบรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์: จากอดีต สู่ปัจจุบัน มุ่งอนาคต

ผู้แต่ง

  • จุมพจน์ วนิชกุล สาขาวิชาการบริหารเพื่อการพัฒนาการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี

คำสำคัญ:

บรรณารักษศาสตร์

บทคัดย่อ

สังคมสารสนเทศในปัจจุบันเป็นสังคมที่ใช้ความรู้เป็นฐานในการพัฒนาประเทศ คนในสังคมมีส่วนร่วมในการใช้สารสนเทศเพื่อการพัฒนาตนเองและสังคมโดยส่วนร่วม บรรณารักษศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์เป็นวิชาชีพที่มีความสำคัญวิชาชีพหนึ่งที่ช่วยสร้างสังคมความรู้เป็นวิชาชีพที่เกิดขึ้นจากพัฒนาการของการเกิดสารสนเทศและการใช้สื่อสารสนเทศประเภทต่าง ๆ ในสังคมที่มีจำนวนปริมาณของสารสนเทศที่เพิ่มขึ้น เป็นการเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วและต่อเนื่อง ก่อให้เกิดองค์ประกอบในการศึกษาค้นคว้าที่เกี่ยวข้องกับสารสนเทศและการสร้างองค์ความรู้ในสังคม นับตั้งแต่ สถานที่จัดเก็บองค์ความรู้ของสารสนเทศที่หลากหลาย ผู้ใช้สารสนเทศ การบริหารจัดการเกี่ยวกับคน และวัสดุที่เกี่ยวข้องกับสาระที่บันทึก ซึ่งเป็นที่มาของวิชาชีพบรรณารักษ์ศาสตร์และสารสนเทศศาสตร์

Downloads

Download data is not yet available.

References

จารุวรรณ สินธุโสภณ. (2521). วิทยานุกรมบรรณารักษศาสตร์
(A cyclopedia of librarianship).
กรุงเทพฯ: สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯ.

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย คณะอักษรศาสตร์. (2528). บรรณารักษ์ 30. กรุงเทพฯ.

_______. (2520). ประวัติการทำบัตรรายการและการจัดหมู่หนังสือ. กรุงเทพฯ.

ฉวีลักษณ์ บุญยะกาญจน. (2529). ระบบเปิดของห้องสมุด. วารสารห้องสมุด,
30 (ตุลาคม-ธันวาคม), 54-60.

นงลักษณ์ ไม่หน่ายกิจ. (2524). การศึกษาวิชาสารนิเทศศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยพิทสเบอร์.
ชมรมนิสิตวิชาบรรณารักษ์ศาสตร์จุฬาฯ, 1, 43-52.

_____. (2526). บริการสนเทศ : ความหมายและประเภท. วารสารห้องสมุด,
27 (มกราคม-มีนาคม), 17-23.

_____. (2526). บริการสนเทศระบบออนไลน์. ใน บรรณารักษ์นักเขียน.
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, หน้า 115-142.

_____. (2529). มหาวิทยาลัยบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์.
ชมรมนิสิตวิชาบรรณารักษศาสตร์จุฬาฯ, 6, 62-72.

_____. (2531). สารนิเทศศาสตร์ : พัฒนาการ ความหมายและขอบเขต.
ใน สารนิเทศศาสตร์ : เอกสารประกอบการสัมมนา.
กรุงเทพฯ:วิทยาลัยครูบ้านสมเด็จเจ้าพระยา. หน้า 295-309.

ราชบัณทิตยสถาน. (2530). พจนานุกรมราชบัณทิตยสถาน พ.ศ. 2525.
พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : อักษรเจริญทัศน์.

_____. (2531). ศัพท์บัญญัติพร้อมคำอธิบายจากพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525.
กรุงเทพฯ : ธรรมกมลการพิมพ์.
ลานนา ทวีเศรษฐ์. (2530). บัณฑิตศึกษาด้านสารนิเทศ ณ มหาวิทยาลัยชีเรคิวส์ มลรัฐนิวยอร์ค ประเทศ สหรัฐอเมริกา. วารสารห้องสมุด, 31 (3), 75-90.

สุทธิลักษณ์ อำพันวงศ์. (2521). บรรณารักษศาสตร์ภูมิหลัง. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

ACRL Research Planning and Review Committee. (2014). 2012 top ten trends in academic libraries: A review of the trends and issues affecting academic libraries in higher education.
URL: https://crln.acrl.org/content/73/6/311.full

American Library Association. (1943). A.L.A. glossary of library terms; With a selection of terms
in related fields. Chicago: American Library Association.

Atherton, P. (1981). Library history. In The world book encyclopedia. Vol.12. New York:
Americana Corporation. p. 228-232.

A brief history of librarians and image. (2014).
URL: https://home.earthlink.net/~cyberresearcher/History.htm

Buckland, M. K. (1983). Library services. In Theory and context. New York: Pergamon Press.

Casson, L. (2002). Libraries in the ancient world. New Haven, CT: Yale University Press.

Courses eligible for ALIA membership. (2014).
URL:https://www.alia.org.au/employment-and-careers/courses-eligible-alia-membership

The definition of a library. (2004). URL: https://www.librarylaws.com/

Francis, F. C., Sir. (1980). Library. In The new encyclopaedia Britannica: Macropaedia. Vol. 10.
Chicago: Encyclopaedia Britannica. p. 856-867.

Horko, H. (1968). Information Science: What Is It? American Documentation, 19, 3-5.
International Federation of Library Association. (1976). Standards for library schools. IFLA Journal,
209-223.

Kishida, K. (2011). History and recent trends in library and information science education in Japan. In International Symposium and Information Science Education. Tokyo: Keio Uiniversity.

Krasner-Khait, B. (2014). Survivor: The history of the library.
URL:https://www.history-magazine.com/libraries.html

Lancaster, F. W. (1978). Toward paperless information systems. New York: Acadmic Press.

Miski, A. (1986). Education for information science. In Encylopedia of library and information
science. Vol. 41.New York: Marcel Dekker. p.47-65.

Palmer, R. C. (1987). Online reference and information retrieval. 2nd ed. Littleton, Colorado:
Libraries Unlimited.

Prytherch, R., comp. (1987). Harrodus librariansu glossary. 6th ed. Hants: Gower Publishing.

Reynolds, D. (1985). Library automation: Issues and application. New York: R.R. Bowker.

Richardson, J. V., Jr. (2014). History of American library science: Its origins and early
development. URL: https://polaris.gseis.ucla.edu/jrichardson/ALS.pdf

Saracevic, T. (2009). Information science. In Marcia J. Bates and Mary Niles Maack, eds.
Encyclopedia of Library and Information Science. New York: Taylor & Francis. p. 2570-2586.


Stokes, A. V. (1986). Concise encylopedia of information technology. 3rd ed. Dorset: Wildwood House. Svenonius, E., & Witthus, R. (1981). Information science as a profession. In Annual review of information science and technology. Vol. 16. New York: Knowledge Industry Publication. p. 291-307.

School of Information Studies, Syracuse University. (2014). Ph.D. program.
URL:https://ischool.syr.edu/future/doctoral/phd.aspx

Taylor, R. S. (1966). Professional aspects of information science and technology. In Annual review of information science and technology. Vol.1.New York: Wiley-Interscience. p.15-39.

Toffler, A. (1980). The third wave. New York: William Marror & Co. University of Pittsburgh. (2014). Schools & colleges. URL: https://www.pitt.edu/academics/schools-colleges

Young, H., ed. (1983). The ALA glossary of library and information science. Chicago: American Library Association.

Downloads