การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดดิจิทัลด้านสารสนเทศยุวกาชาด
คำสำคัญ:
เว็บไซต์, ห้องสมุดดิจิทัล, ยุวกาชาตบทคัดย่อ
การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดดิจิทัลด้านสารสนเทศยุวกาชาด
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดดิจิทัลด้านสารสนเทศยุวกาชาด โดยใช้แนวคิดของเชลลี่และวูดส์ (Shelly and Woods) และชอฟต์แวร์สำเร็จรูปดรูปาล (Drupal) กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ ได้แก่ สมาชิกเครือข่ายยุวกาชาตและอาสายุวกาชาด รวมทั้งหมด 370 คน เครื่องมือที่ใช้ได้แก่ 1) เว็บไซต์ห้องสมุดดิจิทัลด้านสารสนเทศยุวกาชาต 2) แบบประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้ที่มีต่อเว็บไซต์วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมคำนวณสำเร็จรูป หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจต่อเว็บไซต์โดยรวมอยู่ในระดับมาก
Downloads
Download data is not yet available.
References
กรรณิการ์ สวรรค์โพธิพันธุ์. (2550). การออกแบบเว็บให้น่าใช้.
กรุงเทพฯ : เคทีคอมพ์แอนด์ คอนชัลท์.
กัลยาณี สิงห์ดวง. (2548). การสร้างเว็บไซต์เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.
ชุติมา สัจจานันท์, บรรณาธิการ. (2549). การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2549
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯและประชมวิชาการเรื่องการจัดการห้องสมุดดิจิทัล.
วันที่ 18-21 ธันวาคม 2549. โรงแรมแอมบาสชาเดอร์ กรุงเทพฯ.
นวพรสายสิงห์. (2549). การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาลัยเขตสุรินทร์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
นันทวัฒน์ ภัทรกรนันท์. (2555). การพัฒนาชุดฝึกอบรบโดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะสำหรับอาสายุวกาชาด.
ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปะนิดา ชาติน้ำเพ็ชร. (2545). การนำความรู้จากการฝึกอบรมหลักสูตรอาสายุวกาชาด
ไปใช้ในการบำเพ็ญประโยชน์ของสมาชิกอาสายุวกาชาดสำนักงานยุวกาชาดสภากาชาดไทย.
ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรีวิโรฒ.
พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร และ ปิยะ นากสงค์. (2549). ออกแบบสร้างโปรโมท
Website Step by Step. กรุงเทพฯ: ชัคเซสมีเดีย.
รัตติมา จีนาพงษาและคณะ. (2553). มุมมองใหม่ของการออกแบบเว็บไซต์เพื่อการบริการ.
ในผลงานที่นำเสนอในการสัมมนา PULINET วิชาการครั้งที่ 1 เรื่อง Creative library.
วันที่ 24-25 มิถุนายน 2553. โรงแรมเมธาวลัย ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี. หน้า 9-14.
สภากาชาดไทย. (2555). รายงานประจำปี 2554 สภากาชาดไทย.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตีสาร.
สมาน ลอยฟ้า. (2544). การประเมินเว็บไซต์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 18(2), 1-9.
สุดา ตนะวรรณสมบัติ. (2538).
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกออกกำลังกายด้วยการว่ายน้ำ.
ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานยุวกาชาด. ฝ่ายวิชาการ. (2556). คู่มือวิทยากรยุวกาชาด:
สำหรับการอบรบอาสายุวกาชาด หลักสูตรพื้นฐานยุวกาชาด. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
อรทัย วารีสอาด. (2550). งานวิจัยเพื่อพัฒนาชุดเรียนรู้ผ่านเว็บ (Web Tutorial)
: เครื่องมือช่วยสอนทักษะการรู้สารสนเทศ. วารสารห้องสมุด, 51(1), 73-87.
Agingu, B.O. (2000). Library web sites at historically black colleges and universities. College & Research Libraries, 61(1), 30-37.
Krejcie, Robert V.and Morgan, Daryle W. (1970). Determining sample size for research activities. Journal of Educational and Phychological Measurement, 30 (Autumn),
607-610.
Liu, Yan Quan. (2004). Best practices, standards and techniques for digitizing library materials: a snapshot of library digitization practices in the USA. Online Information Review, 28(5), 338-345.
McCray, Alexa T. and Gallagher, Marie E. (2001). Principles for digital library development. Communication of the ACM, 44(5), 48-54.
Shelly, Gary B. and Woods, Denise M. (2010). HTML XHTML and CSS: Complete. Boston: Cengage Learning.
กรุงเทพฯ : เคทีคอมพ์แอนด์ คอนชัลท์.
กัลยาณี สิงห์ดวง. (2548). การสร้างเว็บไซต์เกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว.
ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ.
ชุติมา สัจจานันท์, บรรณาธิการ. (2549). การประชุมใหญ่สามัญประจำปี 2549
สมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทยฯและประชมวิชาการเรื่องการจัดการห้องสมุดดิจิทัล.
วันที่ 18-21 ธันวาคม 2549. โรงแรมแอมบาสชาเดอร์ กรุงเทพฯ.
นวพรสายสิงห์. (2549). การพัฒนาเว็บไซต์ห้องสมุดมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาลัยเขตสุรินทร์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต. ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น
นันทวัฒน์ ภัทรกรนันท์. (2555). การพัฒนาชุดฝึกอบรบโดยใช้กระบวนการเรียนรู้จากประสบการณ์ เพื่อเสริมสร้างจิตสาธารณะสำหรับอาสายุวกาชาด.
ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ปะนิดา ชาติน้ำเพ็ชร. (2545). การนำความรู้จากการฝึกอบรมหลักสูตรอาสายุวกาชาด
ไปใช้ในการบำเพ็ญประโยชน์ของสมาชิกอาสายุวกาชาดสำนักงานยุวกาชาดสภากาชาดไทย.
ปริญญานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรีวิโรฒ.
พันจันทร์ ธนวัฒนเสถียร และ ปิยะ นากสงค์. (2549). ออกแบบสร้างโปรโมท
Website Step by Step. กรุงเทพฯ: ชัคเซสมีเดีย.
รัตติมา จีนาพงษาและคณะ. (2553). มุมมองใหม่ของการออกแบบเว็บไซต์เพื่อการบริการ.
ในผลงานที่นำเสนอในการสัมมนา PULINET วิชาการครั้งที่ 1 เรื่อง Creative library.
วันที่ 24-25 มิถุนายน 2553. โรงแรมเมธาวลัย ชะอำ จังหวัดเพชรบุรี. หน้า 9-14.
สภากาชาดไทย. (2555). รายงานประจำปี 2554 สภากาชาดไทย.
กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ตีสาร.
สมาน ลอยฟ้า. (2544). การประเมินเว็บไซต์. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 18(2), 1-9.
สุดา ตนะวรรณสมบัติ. (2538).
ความคิดเห็นเกี่ยวกับการเลือกออกกำลังกายด้วยการว่ายน้ำ.
ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สำนักงานยุวกาชาด. ฝ่ายวิชาการ. (2556). คู่มือวิทยากรยุวกาชาด:
สำหรับการอบรบอาสายุวกาชาด หลักสูตรพื้นฐานยุวกาชาด. กรุงเทพฯ: สำนักงานฯ.
อรทัย วารีสอาด. (2550). งานวิจัยเพื่อพัฒนาชุดเรียนรู้ผ่านเว็บ (Web Tutorial)
: เครื่องมือช่วยสอนทักษะการรู้สารสนเทศ. วารสารห้องสมุด, 51(1), 73-87.
Agingu, B.O. (2000). Library web sites at historically black colleges and universities. College & Research Libraries, 61(1), 30-37.
Krejcie, Robert V.and Morgan, Daryle W. (1970). Determining sample size for research activities. Journal of Educational and Phychological Measurement, 30 (Autumn),
607-610.
Liu, Yan Quan. (2004). Best practices, standards and techniques for digitizing library materials: a snapshot of library digitization practices in the USA. Online Information Review, 28(5), 338-345.
McCray, Alexa T. and Gallagher, Marie E. (2001). Principles for digital library development. Communication of the ACM, 44(5), 48-54.
Shelly, Gary B. and Woods, Denise M. (2010). HTML XHTML and CSS: Complete. Boston: Cengage Learning.