การใช้แอปพลิเคชันบนแท็บเล็ต เพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษและความรู้คำศัพท์ ของนักเรียนชาติพันธุ์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2

ผู้แต่ง

  • เคน มหาชนะวงศ์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • นิธิดา อดิภัทรนันท์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

คำสำคัญ:

แอปพลิเคชัน, การฟัง พูดภาษาอังกฤษ, ความรู้คำศัพท์, ชาติพันธุ์

บทคัดย่อ

การศึกษาเรื่อง “การใช้แอปพลิเคชันบนแท็บเล็ต เพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษและความรู้คำศัพท์ ของนักเรียนชาติพันธุ์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2” มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเพื่อศึกษาความสามารถด้านการฟัง พูดภาษาอังกฤษ และความรู้คำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชาติพันธุ์   หลังการเรียนโดยใช้แอปพลิเคชันบนแท็บเล็ต โดยกลุ่มประชากรที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักเรียนชาติพันธุ์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ที่มีเชื้อสายอาข่าและลาหู่   โรงเรียนบ้านห้วยหญ้าไซ อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ที่เรียนรายวิชาภาษาอังกฤษพื้นฐาน อ12101 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 จำนวน 20 คน ใช้แผนการจัดการเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่ใช้แอปพลิเคชันบนแท็บเล็ตเป็นแหล่งการเรียนรู้หลัก จำนวน 7 แผน โดยเลือกใช้แอปพลิเคชัน Echo English, Genki English, Charades!, Keynote, Kahoot!,Plickrs, และ LeraningEnglishKidsเป็นเครื่องมือในการทดลอง ใช้แบบประเมินความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษและแบบทดสอบความรู้คำศัพท์เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และค่าร้อยละ โดยมีผลการวิจัยดังต่อไปนี้

ความสามารถในการฟัง พูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชาติพันธุ์หลังการเรียนโดยใช้แอปพลิเคชันบนแท็บเล็ต ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ที่กำหนดไว้และอยู่ในระดับดี และความรู้คำศัพท์ของนักเรียนชาติพันธุ์หลังการเรียนโดยใช้แอปพลิเคชันบนแท็บเล็ต ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 50 ที่กำหนดไว้และอยู่ในระดับดี

References

ปานเสก สุทธปรีดา. (2538). ผลของการสอนแบบมุ่งประสบการณ์ภาษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการอ่านและการเขียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชาวเขาที่เริ่มเรียนภาษาอังกฤษ. (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สุนทรี พรหมเมศ. (2540). ชาวเขาในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

สุภัทรา อักษรานุเคราะห์. (2540). การใช้กลวิธีเพื่อการสื่อสารกับการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมชาย นันทเสน. (2542). การศึกษาสภาพและปัญหาการจัดการเรียนการสอนในโรงเรียนประถมศึกษา ที่ตั้งอยู่ในชุมชนชาวเขา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติเขตการศึกษา8. (Doctoral dissertation). จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Al-Mansour et al. (2009), Johnson, J., Celik, S., & Al-Mansour,. (2013). Play in earlychildhoodeducation. Handbook of Research on the Education of Young Children.3rd ed. New York: Routledge, 265-274.

Alzaidiyeen, N. J. (2017). “English as a Foreign Language Students Attitudes towards the Utilization of iPad in Language Learning”. Text File. https://files.eric.ed.gov/fulltext/EJ1150412.pdf. 10 November 2017

AzisNurkholisMajid. (2016). The Use of Information Technology in Teaching English:An Attempt to Develop Student-Centered Learning at Telkom Polytechnic.Telkom Polytechnic.

PourhoseinGilakjani, A. (2013). Factors contributing to teachers’ use of computertechnology inthe classroom. Universal Journal of Educational Research, 1(3), 262-267.

PourhoseinGilakjani, A., & Lai-Mei, L. (2012).“Teachers’ attitudes toward using computertechnology in English language teaching. Theory and Practice in Language Studies”.2(3), 630-636. Text Files. https://doi.org/10.4304/tpls. 22 July 2016

PourhoseinGilakjani, A., &Sabouri, N. B. (2014).Role of Iranian EFL teachers about using Pronunciation. Power Software in the instruction of English pronunciation. EnglishLanguage Teaching, 7(1), 139-148.

Ramos, L., &Valderruten, A. (2017).“Development of Listening and Linguistic Skills Throughthe Use of a Mobile Application.English Language Teaching”.
Website.http://www.ccsenet.org/journal/index.php/elt/article/viewFile/69928/38072. 12 November 2017

Safar, A. H., Al-Jafar, A. A., & Al-Yousefi, Z. H. (2017).“The Effectiveness of Using Augmented Reality Apps in Teaching the English Alphabet to Kindergarten Children: A Case Study in the State of Kuwait”. Website.http://www.ejmste.com/The-Effectiveness-of-Using-Augmented-Reality-Apps-in-Teaching-the-English-Alphabet-to-Kindergarten-Children-A-Case-Study-in-the-State-of-Kuwait,65043,0,2.html. 12 November 2017UNESCO.(2013). “The Future of Mobile Education”. Text files. http://unesdoc.unesco.org/images/0021/002196/219637e.pdf. 15 March 2016

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-26