ปัจจัยและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุไทย : การทบทวนวรรณกรรมแบบบรรยาย
คำสำคัญ:
พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ, ผู้สูงอายุ, การทบทวนวรรณกรรมบทคัดย่อ
จากการสืบค้นและรวบรวมองค์ความรู้จากวรรณกรรมที่เกี่ยวกับปัจจัยและแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุไทย ในฐานข้อมูลออนไลน์ที่มีการเผยแพร่ แล้วนำมาสังเคราะห์และสรุปเป็นองค์ความรู้ ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพคือ 1) ปัจจัยส่วนบุคคล ได้แก่ เพศ อายุ สถานภาพสมรส ระดับการศึกษา รายได้ อาชีพ 2) ปัจจัยด้านสุขภาพ ได้แก่ การรับรู้ภาวะสุขภาพตนเอง การรับรู้ประโยชน์ของพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การรับรู้ความสามารถของตนเองต่อการปฏิบัติพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ การรับรู้โอกาสเสี่ยงของการเป็นโรค การรับรู้ความรุนแรงของการเป็นโรค ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพ 3) ปัจจัยด้านสังคม ได้แก่ การสนับสนุนทางสังคมสำหรับแนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพได้แก่ ทฤษฎีการส่งเสริมสุขภาพของเพนเดอร์ แนวคิดแบบจำลอง PRECEDE-PROCEED Model แนวคิดการสนับสนุนทางสังคม ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตน แนวคิดความเชื่อด้านสุขภาพ ทฤษฎีการดูแลตนเอง และทฤษฎีขั้นตอนการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรม จะเห็นว่าปัจจัยและทฤษฎีในการอธิบายพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพ มีความสำคัญเป็นประโยชน์ต่อบุคลากรทางสาธารณสุขหรือผู้เกี่ยวข้องเพื่อใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานเป็นแนวทางในการวางแผนการส่งเสริมสุขภาพให้กับผู้สูงอายุให้มีพฤติกรรมที่เหมาะสม และยังสามารถนำไปพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุให้ดีขึ้นได้
References
คมเนตร สกุลธนะศักดิ์.(2551) ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันวัณโรคในผู้สูงอายุภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย..
ญาณนันท์ รัตนธีรวิเชียร. (2552) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพเพื่อลดความเสี่ยงมะเร็งต่อมลูกหมากในผู้สูงอายุ. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยมหิดล.
ทิพย์กมล อิสลาม. (2557) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมสร้างเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุไทย อำเภอเกาะยาว จังหวัดพังงา วารสารวิชาการแพทย์เขต; 8(1): 1-15.
ธนธัช ธนิกกุล. (2553) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในอำเภอบางคนที จังหวัดสมุทรสงคราม. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์..
เนตรดาว จิตโสภากุล. (2557) ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุใน ชุมชนหมู่ที่ 6 ตำบลบึงศาล อำเภอองครักษ์ จังหวัดนครนายก วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยปทุมธานี ; 6(3): 171- 178.
มนฑิญา กงลา และจรวย กงลา. (2558) พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุใน เขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ ตำบลท่าไฮ อำเภอศรีธาตุ จังหวัดอุดรธานี [อินเตอร์เน็ต]. [เข้าถึงเมื่อ 4 เมษายน 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://journal.nmc.ac.th/th/admin/ Journal/2558Vol3No1_61.p
มนตร์ชัย โลหะการ.(2552) การศึกษาความสัมพันธ์ต่อการออกกำลังกายของผู้สูงอายุในพื้นที่อำเภอเมือง จังหวัดพังงา. [วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต]. ภูเก็ต: มหาวิทยาลัยราชภัฎภูเก็ต.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย พ.ศ.2558. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (2560) สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย ประจำปี 2560.มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย (มส.ผส.).
รัศมี มาลาหอม. (2554) .ผลของการใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีต่อการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ อำเภอโพธิ์ไทร จังหวัดอุบลราชธานี. [วิทยานิพนธ์สาธารณสุข ศาสตรมหาบัณฑิต]. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
วันดี คำศรี. (2550) ความเชื่อด้านสุขภาพที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ศศิกาญจน์ สกุลปัญญวัฒน์. (2557) พฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุชาวมุสลิม กรณีศึกษา อ.องครักษ์ ตำบลองครักษ์ จ. นครนายก วารสารพยาบาลทหารบก; 15(3): 353-36
ศูนย์พัฒนาครอบครัวในชุมชนตำบลสาวชะโงก (2555) คู่มือการดูแลส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุ [อินเตอร์เน็ต] [เข้าถึงเมื่อ 14 พฤศจิกายน 2560]. เข้าถึงได้จาก: http://oldweb.saochangok.go.th/UserFiles/Plans/pdf20.pdf
สมชาย ต่อเพ็ง. (2552).พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในชมรมผู้สูงอายุ อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
สรารัตน์ สุขสมสิน. (2551) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุในชุมชนลำลูกบัว จังหวัดปทุมธานี. [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัยคริสเตียน.
สุวพิชชา ประกอบจันทร์.(2559).ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพผู้สูงอายุตำบลธาตุ อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี [อินเตอร์เน็ต] [เข้าถึงเมื่อ 26 มิถุนายน 2560]. เข้าถึงได้ จาก: http://doi.nrct.go.th/ListDoi/listDetail?Resolve_DOI=10.14456/ jscitech.2016.149
อัญชลี นพรัตน์.(2552). ปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพของผู้สูงอายุในตำบลบ้านปรก อำเภอเมือง จังหวัดสมุทรสงคราม. [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์.
Bandura, (1994), A. Self-efficacy. In V. S. Ramachaudran (Ed.). Encyclopedia of human Behavior.;4: 71-81.
Becker, M. H. (1984) The health belief model and sick role behavior. Health education momographs.; 11(1): 1-47.
Green, L. W., & Kreuter, M. W.(1991) Health Promotion Planning : An Educational and Environmental Approach. 2rd ed. Toronto: Mayfied Publishing;.
House. J.S., Umberson. D. & Landis. K.R (1988). Structures and processed of social support. Annual Review of Sociology.; 14(1): 293-318.
Janz, N. K., & Becker, M. H. (1984) The health belief model: A decade later. Health Education Quarterly.;11(1): 1 – 47.
Orem, D.E. (1991). Nursing Concepts of Practice. 4thed. St.Louis: Mosby;
Pender, N. J. (1996).Health Promotion in Nursing Practice. 3rded. Stamford, CT: Appleton & Lange;
Prochaska, J.O. & DiClemente, C.C. (1983);Stages and processes of self-change in smoking: toward an integrative model of change. Journal of Consulting and Clinical Psychology.
5(1): 390-395.
Prochaska, J.O. & Velicer, W.F. (1997)The Transtheoretical model of health behavior change.
American Journal of Health Promotion.; 12(1): 38-48.