นาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุด รัตนปทุมธานี

ผู้แต่ง

  • ศิรดา พานิชอำนวย สาขาวิชานาฏศิลป์ไทยศึกษา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

คำสำคัญ:

รัตนปทุมธานี, การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์, มอญรำ

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่องนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุดระบำรัตนปทุมธานี มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาศิลปวัฒนธรรมของกลุ่มชาวชาติพันธุ์มอญจังหวัดปทุมธานี เพื่อออกแบบนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ประเภทระบำหมู่ เพื่อทำการถ่ายทอดท่ารำนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุด ระบำรัตนปทุมธานีให้แก่นักศึกษาวิชาเอกนาฏศิลป์ไทย ภาควิชานาฏดุริยางค์ศิลป์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี เพื่อเผยแพร่การแสดงนาฏศิลป์ไทยสร้างสรรค์ชุดระบำรัตนปทุมธานี ดำเนินการวิจัยโดยค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารงานวิจัยที่เกี่ยวข้องและการสังเกตรูปแบบท่ารำของชาวมอญปทุมธานี ผลการวิจัยพบว่า ผลงานการสร้างสรรค์การแสดงชุด ระบำรัตนปทุมธานี มีแนวคิดในการออกแบบนาฏศิลป์จากประสบการณ์การแสดง ประกอบกับแรงบันดาลใจโดยใช้หลักการออกแบบลีลาท่ารำ 2 ประการ อันได้แก่ การตีบทผสมผสานท่าทางธรรมชาติ และหลักการนำรูปแบบลีลาท่ารำของชาวมอญปทุมธานี จากแม่ท่าในท่ารำมอญ 13 ท่า มาร้อยเรียงกระบวนลีลาท่ารำใหม่ให้เป็นไปอย่างงดงาม ผสมผสานกับจังหวะดนตรีไทยผสมสำเนียงมอญ ตีบทตามคำร้องและทำนองเพลงที่แสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ของชาวมอญจังหวัดปทุมธานี

References

กิตติ ธนิกกุล.(2542) ข้อมูลทางบรรณานุกรมของหอสมุดแห่งชาติ ๙๑ แผนที่ประเทศไทย ๗๖ จังหวัด. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น,

กรมศิลปากร.(2544) พัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัดปทุมธานี.กรุงเทพ:โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว.

คณะกรรมการฝ่ายประมวลเอกสารและจดหมายเหตุ ในคณะกรรมการอำนวยการจัดงานเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. (2542). วัฒนธรรมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ เอกลักษณ์และภูมิปัญญา จังหวัด
ปทุมธานี. ปทุมธานี

จารุพรรณ ทรัพย์ปรุง.(2543)ผู้ช่วยศาสตราจารย์.การออกแบบเครื่องแต่งกาย.กรุงเทพฯ: โอเดียสโตร์,

พีรพงษ์ เสนไสย.(2546) นาฏยประดิษฐ์.จังหวัดมหาสารคาม :มหาวิทยาลัยมหาสารคาม,

โรงเรียนเทศบาลเมืองปทุมธานี.(2550) มอญในปทุมธานี ศูนย์การศึกษาวัฒนธรรมพื้นบ้านจังหวัดปทุมธานีเฉลิมพระเกียรติ.เทศบาลเมืองปทุมธานี.

สุรพล วิรุฬรักษ์.(2547) หลักการแสดงนาฏยศิลป์ปริทรรศน์.กรุงเทพฯ:ด่านสุทธาการการพิมพ์,

สุรพล วิรุฬรักษ์. (2547) หลักการแสดงนาฏศิลป์ปริทัศน์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,

สำนักงานจังหวัดปทุมธานี กระทรวงมหาดไทย. (2527) ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดปทุมธานี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ส่วนท้องถิ่น

สำนักงานวัฒนธรรมจังหวัดปทุมธานี. รำมอญ คณะครูมงคล พงษ์เจริญ อำเภอสามโคก จังหวัดปทุมธานี. ม.ป.ท.: (ม.ป.ป.).

ประวัติวัดชมภูเวก.(2550) โบราณสถาน เฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช พระชนมพรรษา ครบ 80 พรรษา. ม.ป.ท.:

คะนอง วังฝายแก้ว. (2555). เปรียบเทียบความหมายของคำว่า"อัตลักษณ์" กับ "เอกลักษณ์".ค้นเมื่อ 3 เมษายน 2559, จาก https://www.gotoknow.org/posts/494293

วรณัย พงศาชลากร. (2550). เที่ยวบ้านรามัญมอญแล้วย้อนอดีตยลอยุธยาที่สามโคก. ค้นเมื่อ 22 มีนาคม 2559, จากhttp://www.oknation.net/blog/voranai/2007/08/24/entry-1

อัษฎา จรัญชล. (2552) นาฏศิลป์ไทย ๑ ความหมายนาฏศิลป์ไทย. ค้นเมื่อ 28 มีนาคม 2559,จากhttp://www.oknation.net/blog/assada999/2009/11/15/entry-1

ความแตกต่างระหว่างอัตลักษณ์ และ เอกลักษณ์. ค้นเมื่อ 3 เมษายน 2559, จาก http://specialissueineducation.blogspot.com/2009/11/blog- post_4152.html (ไม่ปรากฏปีพิมพ์). โพธิสมภาร. ค้นเมื่อ23 เมษายน 2559, จาก http://dict.longdo.com/โพธิสมภารhttp://www.pathumthani.go.th/new_web/about1pathum/index.htm

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-27