การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา รายวิชาการเงินธุรกิจ เพี่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคนิค จำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตย ประชาชนลาว
คำสำคัญ:
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้, กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา, ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา รายวิชาการเงินธุรกิจ สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคนิค จำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาวให้มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 2) เปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการจัดการเรียนรู้แบบซิปปา รายวิชาการเงินธุรกิจ ก่อนเรียนและหลังเรียน 3) วัดความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดกิจกรรม การเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา รายวิชาการเงิน หลังเรียน 4) ศึกษาความพึงพอใจของนักศึกษาที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้เป็นนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ ชั้นปีที่ 2 วิทยาลัยเทคนิคจำปาสัก สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561จำนวน 1 ห้องเรียน 40 คน ที่ได้มาโดยการสุ่มแบบเป็นกลุ่ม โดยใช้ห้องเรียนเป็นหน่วยในการสุ่มจัดห้องเรียนเป็นแบบคระความสามารถ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการซิปปา แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบวัดความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลและ แบบสอบถามความพึงพอใจ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติที
ผลการวิจัยพบว่า 1.) ประสิทธิภาพชุดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้การจัดการเรียนรู้แบบซิปปา ที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพเท่ากับ 87.52/81.56 ซึ่งเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน 80/80 ที่กำหนด 2.) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน รายวิชาการเงินธุรกิจของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 หลังการใช้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3.) ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล สำหรับนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นปีที่ 2 รายวิชาการเงินธุรกิจ หลังเรียนด้วยชุดกิจกรรมที่พัฒนาขึ้นนอยู่ในระดับดีมาก มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 32.73 4.) ความพึงพอใจของนักศึกษา ที่เรียนด้วยชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้นอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.56
References
กระทรวงศึกษาธิการ.(2551) การจัดกระบวนการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสำคัญที่สุด ตามพระราชบัญญัติการศึกษา แห่งชาติ พ.ศ.2542. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว, 2545.หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.
กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา สปป.ลาว. เอกสาร 3 หลักการ 5 จุดหมายทางการศึกษาของลาว.(2551) นครหลวงเวียงจันทน์: กรระทรวงศึกษาธิการและกีฬา สปป.ลาว, 2556. แผนยุทธศาสตร์การปฏิรูปการศึกษาแห่งชาติ สปป. ลาว 2549-2558. นครหลวงเวียงจันทน์: กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา สปป.ลาว.
กฎหมายฉบับสมบูรณ์ (ฉบับย่อ).(2551) นครหลวงเวียงจันทน์: กระทรวงศึกษาธิการและกีฬา สปป. ลาว.
เครือวัลย์ แสงโสดา.(2556) การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้เรื่องความหลากหลายทางชีวภาพในอ่างเก็บน้ำคลองลำกง อำเภอหนองไผ่ จังหวัดเพชรบูรณ์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 มหาวิทยาลัยราซภัฏเพชรบูรณ์: สถาบันวิจัยและการพัฒนา.
จินตนา มะโรงรัตน.(2553)การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 4 เรื่องเวลาด้วยการจัดการเรียนรูที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางตามหลักซิปปา. วิทยานิพนธ์: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
จีรภา วีระพันธ์.(2555) การพัฒนาชุดการสอน กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1. วิทยานิพนธ์ ค บ อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.
ทิศนา แขมมณี.(2556) รูปแบบการเรียนการสอน: ทางเลือกที่หลากหลาย (พิมพ์ครั้งที่ 5) กรุงเทพฯ:บริษัท แอคทีฟ พริ้น จำกัด.
ศาสตรการสอนเพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ.(2554) กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
พิลัดดา ภูผาใจ, (2555) การพัฒนากิจกรรมการเรียนรูคณิตศาสตรโดยใชรูปแบบซิปปา (CIPPA Model)ที่เนนกระบวนการแกปญหา เรื่อง สมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นงลักษณ ชาวแพะ(2556). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรูตามรูปแบบซิปปา กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร เรื่อง สมการและการแกสมการ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนอนุบาลภูซาง (บานดอนตัน) สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพะเยาเขต 2. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย.
ปาวี สุวรรณนะวงส์(2559) การนำใช้วิธีสอนแบบซิปปาเข้าในการสอน วิชาฟิสิกส์สาด เรื่อง การเคลื่อนที่ สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งชาติสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.
มงคล คมขำ(2559) การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ โดยใช้รูปแบบการเรียนการสอนที่ เน้นทักษะปฏิบัติ เรื่องการตัดสินกีฬาวอลเลย์บอล สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะศึกษาศาสตร์ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
วรรณพรรณ เลิศวัตรกานต์(2556) การพัฒนาชุดกิจกรรม โดยเน้นงานปฏิบัติเพือฝึกทักษะการฝังและการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมารีวิทยา.วารสารวิชาการ Veridian E-journal 7 (2), 98.
วราภรณ์ นาคะศิริ.(2556) การคิดอย่างมีเหตุผลของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดกิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์โดยใช้ทรายสี. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม.(การศึกษาปฐมวัย) กรุงเทพๆ: บัณฑิดวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
วิไล บุญณรังศรี.(2560) ผลการฝึกทักษะแบบสร้างสรรค์ความรู้ด้วย ตนเอง (constructivism) ที่มีต่อความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผลของนักเรียน ที่ใช้การวิเคราะห์ข้อมูลด้วยแบบแผนการวิเคราะห์แบบกลุ่มสุ่ม (RBD) กับแบบแผนการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม(ANCOVA) ปริญญานิพนธ์ กรุงเทพๆ: บัณฑิดวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒ.
ศศิรดา วิชาชัย.(2560) การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ทางการเรียนวิทยาศาสตร์แบบซิปปา โมเดลเรื่องแรงโน้มถ่วงของโลก ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3 (บทคัดย่อ) กรุงเทพมหานคร.
สลิลทิพย์ จันทร์ศรีทอง.(2560) การพัฒนาชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่อง ทวีปอเมริกาเหนือ โดยใช้รูปแบบการสอนแบบซิปปา (CIPPA MODEL) วิชาสังคมศึกษา ศาสนา และ วัฒนธรรม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 (บทคัดย่อ).
สุคนธ์ สินธพานนท์.(2553)นวตักรรมการเรียนการสอน เพี่อพัฒนาคุณภาพของเยาวชน. กรุงเทพฯ: 9119 เทคนิคพริ้นติ้ง.
สุรางค์ โค้วตระกูล.(2553) จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย.
สุวรรณนะวงส์. (2559) การนำใช้วิธีสอนแบบซิปปาเข้าในการสอนวิชาฟิสิกส์สาดเรื่องการเคลื่อนที่สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนมัธยมสมบูรณ์บ้านไผ่ล้อมเมืองไชทานี นครหลวงเวียงจันทน์ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว.
สุมณฑา สิงห์ชา. (2557) ความสามารถในการคิดอย่างมีเหตุผล ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โดยใช้ วิธีการแบบเปิด (Open Approach). วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตร์ มหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
หมอน ดวงบุดดา. (2559) การจัดการเรียน-การสอน วิชาคณิตศาสตร์โดยใช้รูบแบบการสอนชิปปา (CIPPA) สำหรับ นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 วิทยานิพนธศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยแห่งชาดสาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ประชาชนลาว.
Good, C.V. Dictionary of Education. 5rded.New York: Mc Graw-Hill, 1973