การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง
คำสำคัญ:
ผู้บริหารสถานศึกษา, ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์, ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างบทคัดย่อ
การศึกษาเรื่อง การพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง มีวัตถุประสงค์เพื่อ1) ศึกษาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์2) ศึกษาปัจจัยที่ทำนายภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ และ 3) นำเสนอแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่างใช้ระเบียบแบบแผนวิธีวิจัยเชิงผสมโดยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ ผู้อำนวยการโรงเรียนจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง จำนวน 8 จังหวัด การวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้วิธีการสัมภาษณ์เชิงลึกและการสนทนากลุ่ม จำนวน 13 คน และการวิจัยเชิงปริมาณใช้การสุ่มอย่างง่ายจำนวน576 คนผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด ปัจจัยด้านคุณลักษณะผู้นำ ด้านความรู้เชิงลึก และด้านความสามารถเชิงกลยุทธ์ สามารถทำนายภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05และ แนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงสร้างสรรค์ของผู้บริหารสถานศึกษาได้แก่ การเน้นให้ผู้นำเกิดการคิดและการปฏิบัติเชิงสร้างสรรค์ให้เป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ้น
References
ธนวัฒน์, ภิรมย์ไกรภักดิ์.(2559).พฤติกรรมภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
สนุก สิงห์มาตร, พิกุล มีมานะ และ ดุษฎีวัฒน์ แก้วอินทร.(2560). คุณลักษณะภาวะผู้นำของผู้บริหารองค์กรในศตวรรษที่ 21. คณะรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). ประสิทธิภาพและการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ.กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
_________________________________________. (2560). ประสิทธิภาพและการบริหารจัดการของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐ.กรุงเทพฯ: สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
อุดม มุ่งเกษม. (2545). Good Governance กับการพัฒนาข้าราชการ. กรุงเทพฯ : สถาบันพัฒนาข้าราชการพลเรือน สำนักงาน ก.พ.
Bass, Bernard M. &Avolio, Bruce J. (1994). Improving Organization Effectiveness through Transformation Leadership. Thousand Oaks: SAGE.
Bryman, A. (2001). Social Research Methods. Oxford: Oxford University Press
Bhutanaro, T. (2017). Leadership and Community Development. Retire4 April 2019 from www.goto know.org/posts Retrieved on June 11, 2560
Casse, P., & Claudel, P. G. (2007). Philosophy for creative leadership: How philosophy can turn people into more effective leaders.n.p.
Cui, et al. (2005)Drosophila Nod protein binds preferentially to the plus ends of microtubulesand promotes microtubule polymerization in vitro. Mol. Biol. Cell 16(11): 5400--5409.
Bryman, A; Collinson, D L; Grint, K; Jackson, B; Uhl-Bien, M. (2011). The Sage Handbook of Leadership. Los Angeles: Sage.
Danner, S. E. (2008). Creative leadership in art education: Perspectives of an art educator.Thesis Master of Arts, Art Education, Fine Arts, Ohio University.
Dubrin, A. J. (2010). Principles of leadership. South-Western: Cengage Learning.
Gardner. 1986. Probing more deeply into the theory of multiple intelligences. NASSP Bulletin.
Harris, A. (2009). Creative leadership. Journal of Management in Education, 23(1), 9-11.
Ken KalalaNdalamba, Cam Caldwell &Verl Anderson. 2018. Ethical leadership in troubled \ times. Retire4 April 2019 from Web site: www.researchgate.net/publication/317321114_Ethical_leadership_introubled_times.
Kouzes, J. & Posner. B. (1995). The Leadership Challenge: How to Keep Extraordinary Things Done \ in Organization. San Francisco CA: Jossey – Bass.
Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. 1970. Determining Sample Size for Research Activities. Educational and Psychological Measurement. 30(3): 607-610.
Mayfield & Mayfield, M., & Mayfield, J. 2010. Developing a scale to measure the creative environment perceptions: A questionnaire for investigating garden variety creativity. Creativity Research Journal, 22(2): 162-169.
McCormick, M. J., Tanguma, J., &López-Forment, A. S. 2002. Extending self-efficacy theory to leadership: A review and empirical test. Journal of Leadership Education,
1(2): 34-49.
Mueller, J.S., Goncalo, J. A. &Kamdar, D. (2010). Recognizing creative leadership: Can creative idea expression negatively relate to perceptions of leadership potential? [Electronic version]. Cornell University, School of Industrial and Labor Relations.
Palus, C. J., &Horth, D. M. (2005). The leader’s edge: Six creative competencies for navigating complex challenges. San Francisco: Jossey Bass.
Philip Hallinger, Junjun Chen. (2015). Review of research on educational leadership and management in Asia. inEducational Management Administration & Leadership.
43(1): 497.
Reddin, William J. 1970. Managerial effectiveness. New York: McGraw-Hill.
Schank& Abelson. (2013). Scripts, Plans, Goals, and Understanding: An Inquiry into Human Knowledge Structures.in Language, 54(3): 952.
Schermerhorn, John R. (2005). Management. New York: John Wiley & Sons.
Sternberg, R. J. (2006). Creative leadership: it's a decision. Journal of Leadership, 36(2), 22-24