ภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุ: บทบาทพยาบาล

ผู้แต่ง

  • โปรยทิพย์ สันตะพันธุ์ กลุ่มวิชาการพยาบาลจิตเวช วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสรรพสิทธิประสงค์
  • บุปผา ใจมั่น กลุ่มวิชาการพยาบาลจิตเวช วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสรรพสิทธิประสงค์
  • วิจิตรา จิตรักษ์ กลุ่มวิชาการพยาบาลจิตเวช วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนีสรรพสิทธิประสงค์

คำสำคัญ:

ภาวะซึมเศร้า, ผู้สูงอายุ, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

วัยสูงอายุเป็นวัยที่มีการเปลี่ยนแปลงด้านร่างกายจิตใจและสังคมไปในทางเสื่อม ส่งผลให้ผู้สูงอายุส่วนใหญ่มีปัญหาสุขภาพจิต โดยเฉพาะอย่างยิ่งการเกิดภาวะซึมเศร้าจากปัญหาด้านร่างกายเพราะความเสื่อมทำให้มีความไม่สุขสบาย ส่งผลต่อสภาพอารมณ์ของผู้สูงอายุ ประกอบกับบทบาททางสังคมลดลงและอยู่ในภาวะพึ่งพาลูกหลานจึงทำให้ผู้สูงอายุซึมเศร้าได้ง่าย ภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาที่พบบ่อยในผู้สูงอายุ แต่มักจะถูกมองข้ามและเข้าใจผิดคิดว่าเกิดจากการเปลี่ยนแปลงตามวัย แต่ในความเป็นจริงเมื่อเกิดแล้วส่งผลกระทบต่อร่างกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณของผู้สูงอายุ ทำให้คุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุลดลง มากไปกว่านั้นภาวะซึมเศร้ามีความเสี่ยงต่อการฆ่าตัวตายและการเสียชีวิตเพิ่มขึ้น การดูแลช่วยเหลือผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้านั้นจะต้องมีการประยุกต์ใช้องค์ความรู้และหลักฐานเชิงประจักษ์เกี่ยวกับสาเหตุและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง   รูปแบบรักษา รวมถึงบทบาทของพยาบาล   ทั้งนี้เพื่อที่จะให้ผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าได้รับการดูแลรักษาพยาบาลอย่างครอบคลุมและมีประสิทธิภาพ พยาบาลเป็นวิชาชีพหนึ่งที่มีบทบาทสำคัญในการดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้า   โดยมีเป้าประสงค์หลักของการพยาบาลคือ การดูแลผู้สูงอายุที่มีภาวะซึมเศร้าให้ได้รับการตรวจคัดกรอง วินิจฉัย และให้การพยาบาลอย่างเป็นองค์รวมเพื่อลดความเสี่ยงของการทำร้ายตนเอง สามารถปรับเปลี่ยนความคิด อารมณ์ พฤติกรรมในทางที่ดีขึ้นและเหมาะสม ดำเนินชีวิตในสังคมได้

References

กาญจนา พิบูลย์, พวงทอง อินใจและเอียน สมิท. (2552). ผลของดนตรีบำบัดต่อภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุ.วารสารการพยาบาลและการศึกษา.2(3), 101-110.

ดาราวรรณ ต๊ะปินตา.(2556).ภาวะซึมเศร้า:การบำบัดและการให้คำปรึกษาโดยการปรับความคิดและพฤติกรรม.เชียงใหม่:วนิดาการพิมพ์.

เทพฤทธิ์ วงศ์ภูมิ, จักรกฤษณ์ สุขยิ่งและอุมาพรอุดมทรัพยากุล.(2554). ความชุกของโรคซึมเศร้าในประชากรสูงอายุจังหวัดเชียงใหม่. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย.56(2), 103-116.

นิตยา ตากวิริยนันท์.(2558).การพยาบาลผู้ที่ได้รับยาทางจิตเวช.กรุงเทพฯ: ไอดีออลพริ้น.

ประเสริฐ อัสสันตชัย.(2554). ปัญหาสุขภาพที่พบบ่อยในผู้สูงอายุและการป้องกัน . พิมพ์ครั้งที่ 2.กรุงเทพฯ:ยูเนี่ยนครีเอชั่น.

พจนา เปลี่ยนเกิด.(2557).โรคซึมเศร้า: บทบาทพยาบาลในการดูแลรักษา.วารสารพยาบาลทหารบก.15(1),18-21.

ลิวรรณ อุนนาภิรักษ์.(2553).การพยาบาลผู้สูงอายุ:ปัญหาระบบประสาทและอื่นๆ.กรุงเทพฯ:บุญศิริการพิมพ์.วาสนา วรรณเกษมและรังสิมันต์ สุนทรไชยา.(2554).ผลของโปรแกรมการพยาบาลที่เน้นการปรับตัวและการระลึกถึงความหลังต่ออาการซึมเศร้าของผู้ป่วยสูงที่เป็นโรคซึมเศร้า.วารสารการพยาบาลจิตเวชและ สุขภาพจิต.25(3), 82-96.

วรรณา เรืองประยูร, อทิตยา พรชัยเกตุ โอว ยองและอัจฉราพร สี่หิรัญวงศ์. (2557). การบำบัดโดยการแก้ปัญหาเพื่อลดอาการซึมเศร้าในผู้สูงอายุ: การสังเคราะห์งานวิจัย. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 28(3), 37-48.

วิไลวรรณ ทองเจริญ.(2554).ศาสตร์และศิลป์การพยาบาลผู้สูงอายุ.กรุงเทพฯ:โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.

Alexopoulos, G.S. (2009). Depression in the elderly. The American Association for Geriatric Psychiatry,36(5):1961–1970.

Klaymook, B. (2012).Impact of Perception Adjustment Consultation on the State ofDepression amongst Depression Patients at Sena Hospital,Ayudhaya Provinc.Thai Journal of Nursing Council, 27(3): 106-115.บุษบา

Cahoon, C.G. (2012). Depression in Older Adults.The American Journal of Nursing,112(11):23-30.

Chaiyasung, P. (2013). Predictors of Depression Among Older Adult with Chronic diseaseIn Urban Area. Journal of Nursing and Education.6(1): 27-37.

Haseen, F., & Prasartkul, P. (2011). Predictors of depression among older people living in rural areas of Thailand. Bangladesh Medical Research Council Bulletin. 37:51-56.

Inchaiya, C. , Sangon, S.,&Nintachan,P.( 2016).Factors predicting Depression in Older Adults in Community.The Journal of Psychiatric Nursing and Mental Health, 30(3): 17-33.

Dendukuri,N., & Cole, M.( 2009). Risk Factors for Depression Among Elderly Community Subjects: A Systematic Review and Meta-Analysis. The American Journal of Psychiatry ,160(6): 1147-1156.

Ell, K. (2009).Depression Care for the Elderly: Reducing Barriers to Evidence Based Practice. Home Health Care Serv Q, 25(2): 115-148.

Ellisa, C., Zhaoa, Y., & Egedea, L.E. (2010). Depression and increased risk of death in adults with stroke. Journal of Psychosomatic Research, 68(6), 545-51.

Mackin, S., & Area, P. (2012) . EvidenceBased Psychotherapeutic Interventions for Geriatric Depression. Psychiatric Clinics of North America,28(5): 805– 820.

Yodkul,S.,&Srijakkort,J.( 2012).Predictive Factors of Depression among OlderPeople with Chronic Disease in Buriram Hospital.Journal of Nurses Association Of Thailand, North-Eastern Division, 30(3): 50-57.

Rungreangkulkij, S., Chirawatkul, S., Kongsuk, T., Sukavaha, S., Leejongpermpoon,J.,&Sutatho, Y. (2012).J Psychiatr Assoc Thailand, 57(1): 61-74.

Stuart, G. W.(2013).Principles and practice of psychiatric nursing (10th ed). St. Louis: Elsevie.

Suttajit, S., Punpung, S., Jirapramukpitak, T., Tangchonlatip, K., Darawuttimaprakon, N., &Stewart, R. (2010). Impairment, disability, social support & depression among Older parents in rural Thailand. Psychological Medicine, 40: 1711-1721.

Pumchan, V.,Jitpanya, C. & Sasat, S.(2014).Selected FactorsRelated to Depression in Post Acute Stroke Patients. Journal of the police nurse, 6(2):33-43.

Wang, J., & Zhao, X. (2012). Family functioning and social support for older patients with depression in an urban area of Shanghai,China. Archives of Gerontology and Geriatrics, 55(3): 574-579.

Wiese, B.S. (2011). Geriatric depression: The use of antidepressants in the elderly. BC Medical Journal, 53(7): 341-347.

Yaiyong, O&Lueboonthavatchai, P.Depression and Grief of the Elderly at the Elderly

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-07-01