สภาพปัจจุบันและสภาพที่พึงประสงค์ของของการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดความฉลาดรู้ทางดิจิทัลของนักเรียน

ผู้แต่ง

  • ศักดิ์ดนัย โรจน์สราญรมย์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • ชญาพิมพ์ อุสาโห คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
  • พฤทธิ์ ศิริบรรณพิทักษ์ คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

คำสำคัญ:

ความต้องการจำเป็น, การบริหารวิชาการ, ความฉลาดรู้ทางดิจิทัล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดความฉลาดรู้ทางดิจิทัลของนักเรียน โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงพรรณนา กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้บริหารโรงเรียน หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ครูผู้สอน และนักเรียนระดับมัธยมศึกษา จำนวน 3,120 คน

ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัจจุบันของการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดความฉลาดรู้ทางดิจิทัลของนักเรียนในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง แต่มีสภาพพึงประสงค์อยู่ในระดับสูง ความต้องการจำเป็นของการบริหารวิชาการโรงเรียนมัธยมศึกษาตามแนวคิดความฉลาดรู้ทางดิจิทัลของนักเรียนอันดับแรกคือ ด้านการจัดการเรียนการสอน โดยมีด้านการพัฒนาหลักสูตร การวัดและประเมินผล ด้านการประสานความร่วมมือในการพัฒนาวิชาการกับหน่วยงานอื่น ด้านการพัฒนาและใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการศึกษาและด้านการนิเทศ เรียงตามลำดับ เครื่องมือดิจิทัลเป็นความต้องการจำเป็นอันดับแรกของการบริหารวิชาการทุกด้าน ส่วนการใช้งานอย่างปลอดภัยเป็นความต้องการจำเป็นอันดับรองลงมาในการบริหารวิชาการของโรงเรียนในด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการจัดการเรียนการสอน ด้านการวัดและประเมินผล ด้านการพัฒนาและใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา และด้านการนิเทศ คอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ตเป็นความต้องการจำเป็นอันดับรองในด้านการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ด้านการพัฒนาและใช้สื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีเพื่อการศึกษา ดังนั้นสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจึงควรเร่งสร้างการเปลี่ยนแปลงในการจัดการเรียนการสอนเพื่อพัฒนานักเรียนให้สามารถใช้และสร้างเครื่องมือดิจิทัล การพัฒนาหลักสูตรและการพัฒนาสื่อนวัตกรรมที่ใช้ในการจัดการศึกษาโดยการร่วมมือกับหน่วยงานอื่นและการนิเทศพัฒนาการจัดการสอนของครูเพื่อพัฒนาความฉลาดรู้ทางดิจิทัลของนักเรียน

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2550).กฎกระทรวงศึกษาธิการ กำหนดหลักเกณฑ์และวิธีการกระจายอำนาจการบริหารและการจัดการศึกษา พ.ศ.2550.[ออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://backoffice.onec.go.th/uploaded/Category/Laws/RuleMetDistEdMnt2550-02-12-2010.pdf[27 มิถุนายน 256]

กรมวิชาการ, กระทรวงศึกษาธิการ. (2540). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: กรมฯ.

กิติมา ปรีดีดิลก. (2532). การบริหารและการนิเทศการศึกษาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์อักษรพิพัฒน์.

เฉลิมพล มีชัย. (2562). นวัตกรรมและเทคโนโลยีทางการศึกษา. อุบลราชธานี: โรงพิมพ์ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมกรุงเทพ.

ไพโรจน์ ชูช่วย. (2532). การศึกษาการปฏิบัติงานวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาสังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสงขลา.วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาบริหารการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒสงขลา.

หน่วยปฏิบัติการวิจัยและพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ด้านความรอบรู้ทางดิจิทัลและการเรียนรู้เท่าทันสื่อ, 2562: [ออนไลน์] https://songsue.co/4829/www.diru.commarts.chula.ac.th

รุ่งชัชดาพร เวหะชาติ. (2550). การบริหารงานวิชาการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน.สงขลา: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยทักษิณ.

สถาบันคุณวุฒิวิชาชีพ (องค์การมหาชน).2560. มาตรฐานสมรรถนะสาขาผู้ใช้ไอที.[ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.hcbi.org/RTE/my_documents/my_files/Competency_Standard_DL.pdf [20 สิงหาคม 2560]

วัชรา เล่าเรียนดี (2554). การนิเทศการสอน. พิมพ์ครั้งที่ 9 นครปฐม: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร. หน้า 9.สมาน อัศวภูมิ (2551). การบริหารการศึกษาสมัยใหม่: แนวคิด ทฤษฎี และการปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 3. อุบลราชธานี: อุบลออฟเซท.

สุวิมล ว่องวานิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น.พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ธรรมดาเพลส

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564).[ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422 [26 สิงหาคม 2560]

อุทัย บุญประเสริฐ. (2540). หลักสูตรและการบริหารงานวิชาการในโรงเรียน.กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ เอส ดี เพรส.

อำภา บุญช่วย. (2537). การบริหารงานวิชาการในโรงเรียน.กรุงเทพมหานคร: วัฒนาพานิช.

Baker, F.W. (2010). Media literacy: 21st century literacy skills. In Curriculum 21: Essential Education in a Changing World. Jacobs, H.H. (ed). (p. 116-133) Virginai: ASCD

Bush, T. (2008) Leadership and Management Development in Education. SAGE: London Campbell, Charles, and Shelley Kresyman. (2015). “Aligning Business and

Education: 21st Centntrentury Skill Preparation.” e-Journal of Business Education & Scholarship of Teaching9 (2), pp.13-27.

Chinien, C., & Boutin, F. (2011). Defining Essential Digital Skills in the Canadian Workplace. Office of Literacy and Essential Skills, Human Resources and Skills Development Canada, Government of Canada

Department of Education and Skills Ireland, (2017). Digital Literacy for Schools 2015-2020. [Online]. Available from. https://www. [2017, August 29]

Department of Education and Training. (2015). Digital literacy activities[Online]. Available from. https://www. literacy andnumeracy.gov.au/digital-literacy-activities [2017, August 31]

Digital Intelligence (DQ) (2017). A Conceptual Framework White Paper& Methodology for Teaching and Measuring Digital CitizenshipDQ Institute Singaporewww.dqinstitute.org [26 January2019]

Educational Testing Service. (2011). Digital Transformation: A Framework for ICT Literacy. A Report of the International ICT Literacy Panel. [Online]. Available from https://www.ets.org/Media /Tests/Information and_Communication_ Technology _Literacy/ictreport.pdf EU [29 January 2019]

Ferrari, Anusca, et al. (2014). “DIGCOMP: A Framework for Developing and UnderstandingDigital Competence in Europe.” eLearning Papers. [Online]. Available from: https://www. openeducationeuropa. eu/sites/default/files/legacy_files/asset/ Digital%20Literacies]

Grover, S., & Pea, R. (2013). “Computational Thinking in K-12: A Review of the State” Educational Researcher 42 (1), pp.38–43. [Online]. Available from: http://doi.org/ 10.3102/ 0013189X12463051. [2016, December 7]

Hadziristic, T. (2017) The State of Digital Literacy in Canada: A literature review. Brookfield Institute. Canada.

Hinrichsen, Juliet, & Antony Coombs. (2013). “The five resources of critical digital literacy: a framework for curriculum integration.” Research in Learning Technology 21.

Jacobs, H.H. (2010) A new essential curriculum for a new time. In Curriculum 21: Essential Education in a Changing World Jacobs, H.H. (ed). (p. 1-17) Virginia: ASCD

Kemp, S. We Are Social,Hootsuite (2019). The Study of Global Digital 2019Reports” [Online]. Available from: https://wearesocial.com/blog/2019/01/digital-2019-global-internet-use-accelerates. [ 2019.January, 30]

Massachusetts Department of Elementary and Secondary education. (2016). Massachusetts Digital Literacy and Computer Sciences (DLCS) Curriculum Framework. Malden MA. Retrieved form http://www.doe.mass.edu/frameworks/dlcs/pdf

Media Smarts. (2015). Mapping Digital Literacy Policy and Practice in the Canadian Education Landscape. [Online]. Available from:
http://mediasmarts.ca/sites/mediasmarts/files/publication-report/full/mapping-digital-literacy.pdf [2017,March 19]

Mishra, P., & Koehler, M. J. (2006). Technological Pedagogical Content Knowledge: A new framework for teacher knowledge. Teachers College Record 108 (6), 1017-1054 [Online]. Available from: http://matt-koehler.com/tpack2/wp-content/uploads/ 2013/08/TPACK-new.png [2016, March 20]

New Zealand Ministry of Education. (2017). Technology in New Zealand Curriculum. [Online]. Available from: http://nzcurriculum.tki.org.nz [2019, May 25] OECD. (2014). TALIS 2013 Results: An international perspective on teaching and learning. Paris: OECD Publishing

Prensky, M. (2005), Listen to the natives. Learning in the digital age, Educational Leadership, 63 (4), 8-13.

Oplatka, I. (2011). Darling-Hammond, L., Meyerson, D., La Pointe, M., & Orr, M. T. (2010). Preparing Principals for a Changing World: Lessons from Effective School Leadership Programs. San Francisco: Jossey-Bass. Leadership & Policy in Schools, 10(2), 246–249. https://doi.org/10.1080/15700763.2011.557520

Siemens, G. (2005). Connectivism: A learning theory of the digital age. International Journal of Instructional Technology and Distance Learning, 2(1). p 3-11. Retrieved from http://www.itdl.org/Journal/Jan_05/article01.htm [2007, May, 19]

Tomlinson, C. A. & McTighe, J. (2006). “Integrating Differentiated Instruction and Understanding by Design”:Connecting content and kids. Alexandria, VA: ASCD

UNESCO. (2011). Digital Literacy in Education. Institute for Information Technologies in Education. Available from: http://unesdoc.unesco.org/ images/0021/ 002144/ 214485 epdf [2017, March 18]

Vivian, R., Falkner K. & Falkner, N. (2014). “Addressing the challenges of a new digital technologies curriculum: MOOCs as a scalable solution for teacher professional
development.” Research in Learning Technology 22(1). DOI:10.3402/ rlt.v22.24691

Wanpen Puttanont (256). สภาดิจิทัลนำทัพพันธมิตรใช้เทคโนโลยี ลดผลกระทบ COVID-19 [ออนไลน์]. https://www.thebangkokinsight.com/323418/ [3 เมษายน 2563]

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-12-26