ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนกับประสิทธิผลการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
คำสำคัญ:
ภาวะผู้นำ,ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยน, ประสิทธิผลของการบริหารสถานศึกษา, สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อศึกษา1) ระดับภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 2) ระดับประสิทธิผลของการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและ 3) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนกับประสิทธิผลของการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกลุ่มตัวอย่างในการวิจัย ได้แก่ครู สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานจำนวน 397คน เลือกกลุ่มตัวอย่างโดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงมาตรฐาน และสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์อย่างง่ายของเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient)
ผลการวิจัยพบว่า 1.) ระดับภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยรวมอยู่ในระดับมาก 2.) ระดับประสิทธิผลของการบริหารสถานศึกษาของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานโดยรวมอยู่ในระดับมาก 3.) ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนกับประสิทธิผลของการบริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน มีความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01
References
ธร สุนทรายุทธ. (2551). การบริหารจัดการเชิงปฏิรูป : ทฤษฏี วิจัย และปฏิบัติการทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: เนติกุลการพิมพ์.
นฤมล บุญพิมพ์. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นองค์การแห่งการเรียนรู้ในโรงเรียนกับประสิทธิผลการบริหารงานในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษากาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี.
นวรัตน์วดี ชินอัครวัฒน์ และสุวัฒน์ จุลสุวรรณ์. (2562). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนของหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้ ในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารหาดใหญ่วิชาการ,17(2), 180-199.
นุชรินทร์ เสมอโภค. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาร้อยเอ็ด เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏร้อยเอ็ด.
พรวิภา สุขศรีเมือง. (2557).ความสัมพันธ์ระหว่างองค์การแห่งการเรียนรู้กับประสิทธิผลของโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
มาลี ธรรมศิริ. (2543). การพัฒนารูปแบบองค์การแห่งการเรียนรู้โดยฝ่ายหน่วยพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในฐานะส่วนขยายของการอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
วันชัย นพรัตน์. (2540). ภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนที่สัมพันธ์กับประสิทธิผลของโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการประถมศึกษาแห่งชาติในเขตการศึกษา 12.ปริญญานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.
วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสดศรี- สฤษดิ์วงศ์.
สันติ ชัยชนะ. (2557). ตัวบ่งชี้ภาวะผู้นำการปรับเปลี่ยนสำหรับผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สุรชัย ช่วยเกิด. (2547). คุณลักษณะของผู้บริหารและวัฒนธรรมโรงเรียนที่เกี่ยวกับประสิทธิผลของโรงเรียนภายใต้การบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
สุวัฒน์ จุลสุวรรณ์. (2561). ปัจจัยองค์กรแห่งการเรียนรู้ที่ส่งผลต่อประสิทธิผลของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารบัวบัณฑิต.18(3), 342-354.
Cojocar, B. (2009). Adaptive leadership: Leadership theory or theoretical derivative?.Journal of Academic Leadership, 7(1), 1-7.
Glover, Jerry; Rainwater, Kelley; Jones, Gordon; Friedman, Harris (2002).Adaptive leadership (Part Two): Four principles for being adaptive. Organization DevelopmentJournal, 20(4), 18-38.
Heifetz, R. A., Linsky, M., &Grashow, A. (2009).The practice of adaptive leadership: Tools and tactics for changing your organization and the world. Cambridge: Harvard.
Hogan, T. J. (2008). The adaptive leadership maturity model.Organization Development Journal, 26(1), 55-61.
Hoy, W.K., &Miskel, C.G. (1991). Education at Administration : Theory, Research and Practice. 4th ed. Singapore: McGraw-Hill.
Kay, K. (2010). 21st Century Skills: Why the Matter, What They are, and How We Get There. In Bellanca, J. & Brandt, R. (Eds.), 21st Century Skills: Rethinking How Students Learn. Bloomington, In: Solution Tree Press.
Krejice& Morgan, T. (1970).Determining Sampling Size for Research Activities.Educational and Psychological Measurement, 30(3), 597-710.
Martin, J. (2010). The Meaning of the 21st Century. Bangkok. L. T. P. The Partnership for 21st Century Skill.(2009). Framework for 21st Century Learning.Retrieved June 5, 2018, from http://21st Century skill. Org/index.php.
Mott, Paul E. (1972). The Charactristies of Efficient Organization. New York: Harpe and Row.
Sims, Bryan D. (2009). Complexity, Adaptive Leadership, Phase Transitions and New emergent order: A case study of the Northwest Texas Conference of the United Methodist church. U.S.A.: School of Global Leadership &Entrepreneurship Regent University.
Thomas, R. J. (2008). Crucibles of leadership: How to learn from experience to become a great leader. Boston: Harvard Business Press.
Yukl , G., &Lepsinger, R. (2008). Why Flexible, Adaptive Leadership, is Essential for Organizational Effectiveness. U.S.A.: University of Albany (SUNY).
Yukl, G. A. (2002). Leadership in organizations. (5th ed.) Upper Saddle River, New Jersey: Prentice Hall.
Yukl, G., &Mahsud, R. (2010).Why flexible and adaptive leadership is essential. Consulting Psychology Journal: Practice and Research, 62(2), 81-93.