Developing English listening and speaking skills through early childhood mulled media

Authors

  • Jantima Klubsumran คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุบลราชธานี
  • Juthaip Saenwat Faculty of Education Ubon Ratchathani Rajabhat University
  • Kongkiet kiyasuan Faculty of Education Ubon Ratchathani Rajabhat University
  • Apiwat Kingsaeng Faculty of Education Ubon Ratchathani Rajabhat University

Keywords:

Preschool children, Early childhood English listening skills, Early childhood English speaking skills, Multimedia

Abstract

The aim of this research is to study the individual and overall behaviors of early childhood in English listening and speaking skills using multimedia. The population samples in this research were 30 male and female preschool children studying in Kindergarten, Grade 2, Room 1, Semester 2, Academic Year 2019, Pathum Wittayakorn School. The research instruments were multimedia media and picture cards of English listening and speaking skills. The statistics used for data analysis were percentage, mean and standard deviation (S.D.). The research results were found that Research for the study of individual and overall behavior of early childhood children in English listening and speaking skills by using multimedia media in Kindergarten, Grade 2 at Pratum Wittayakorn School. The researcher would like to summarize and discuss the research results as follows: The results of the development of listening skills showed that the pre-study and post-study listening skills had an average score of 3.80 and 15.67 points, respectively. And when comparing pre- and post-study scores, students' post-study scores were significantly higher than before at the .05 level. The results of the development of speaking skills were found that the test before class and after learning speaking skills had an average score of 1.57 points and 15.00. And when comparing pre- and post-study scores, students' post-study scores were significantly higher than before at the .05 level.

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560. กรุงเทพฯ : คุรุสภา ลาดพร้าว.

กรรณิการ์ กาญจันดา. (2546). การใช้กิจกรรมบทบาทสมมติตามแนวการสอนภาษาเพื่อการสื่อสารเพื่อส่งเสริมความสามารถในการฟัง พูด ภาษาอังกฤษ และแรงจูงใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

กุลธิดา สุวรรณพานิช. (2556). แบบฝึกทักษะการฟังคำศัพท์ภาษาไทยเบื้องต้นสำหรับผู้เรียนชาวต่างชาติโดยใช้สื่อมัลติมีเดีย. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, กรุงเทพฯ.

ชลดา รักแจ้ง. (2557). การพัฒนาชุดกิจกรรมภาษาอังกฤษ เพื่อส่งเสริมทักษะการฟังภาษาอังกฤษสำหรับเด็กปฐมวัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม, นครปฐม.

นภเนตร ธรรมบวร. (2546). หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย . กรุงเทพฯ : สํานักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปาริชาต เตชะ. (2553). การพัฒนาทักษะการฟังพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5โดยใช้บทบาทสมมติ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, เชียงใหม่.

พิทยาภรณ์ มานะจุติ (2548). สื่อการเรียนและของเล่นเด็กปฐมวัย. เชียงใหม่ : ภาควิชาการศึกษาปฐมวัย คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.

เยาวพา เดชะคุปต์. (2542). การบริหารและการนิเทศการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพ ฯ :เจ้าพระยาระบบการพิมพ์.

วรางคณา เค้าอ้น. (2560). การพัฒนาทักษะการสื่อสารภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4 โดย ใช้สถานการณ์เป็นฐานการเรียนรู้. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์,กรุงเทพฯ.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. (2544). การวิจัยการศึกษาปฐมวัย. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.

สุวรรณา ดีไพบูรย์. (2559). ทักษะการพูดภาษาอังกฤษการจัดการเรียนรู้โดยใช้แนวคิดวิธีธรรมชาติ.มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, พิษณุโลก.

Downloads

Published

2021-06-18

Issue

Section

Research Article