ความผูกพันต่อองค์การของพนักงานฟิตเนสเซ็นเตอร์ในจังหวัดชลบุรี

ผู้แต่ง

  • อิทธิพงษ์ ร่มโพธิ์ทอง สาขาการจัดการธุรกิจ มหาวิทยาลัยบูรพา
  • ดร.ธีระ ชินภัทร รามเดชะ คณะการจัดการและการท่องเที่ยว มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

ความผูกพันต่อองค์การ, ฟิตเนสเซ็นเตอร์, ชลบุรี

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความผูกพันต่อองค์การของพนักงานฟิตเนสเซ็นเตอร์ในจังหวัดชลบุรีเป็นการวิจัยเชิงปริมาณ โดยกลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานฟิตเนสที่ทำงานในสปอร์ตคลับหรือฟิตเนสเซ็นเตอร์ในจังหวัดชลบุรี ใช้การเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐาน  ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ ผลการทดสอบสมมติฐานพบว่า ปัจจัยด้านลักษณะของงาน ได้แก่ ความอิสระในงาน ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานฟิตเนสเซ็นเตอร์ในเชิงบวก ในขณะที่ความขัดแย้งในบทบาท ความคลุมเครือในบทบาท ความหลากหลายของทักษะ และเอกลักษณ์ของงานไม่ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานฟิตเนสเซ็นเตอร์ ปัจจัยด้านลักษณะขององค์การ ได้แก่ การกระจายอำนาจ การมีส่วนร่วม และการพิจารณา ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานฟิตเนสเซ็นเตอร์ในเชิงบวก ปัจจัยเกี่ยวกับความพึงพอใจในการทำงาน ได้แก่ ความพึงพอใจในหน้าที่และความพึงพอใจโดยเฉพาะ ส่งผลต่อความผูกพันต่อองค์การของพนักงานฟิตเนสเซ็นเตอร์ในเชิงบวก

References

กรมพัฒนาธุรกิจการค้า (2562). ธุรกิจฟิตเนส บทวิเคราะห์ธุรกิจ ประจำเดือน พฤษภาคม 2562. เข้าถึงได้จาก
https://www.dbd.go.th/download/document_file/Statisic/2562/ T26/T26_201905.pdf

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2547). หลักสถิติ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทวีศักดิ์ รองแขวง. (2555). ความสัมพันธ์ของคุณลักษณะงานกับแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน: กรณีศึกษา อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ นิคมอุตสาหกรรมนวนคร. การค้นคว้าอิสระ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยราชมงคลธัญบุรี.

ทิพย์สุคนธ์ จงรักษ์ (2556). อิทธิพลของคุณลักษณะงาน ที่มีผลต่อความผูกพันต่อองค์กร ความพึงพอใจในงานและพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

ธงชัย สันติวงษ์. (2537). ทฤษฎีองค์การเเละการออกแบบ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพานิช.

ธนรัฐ นาทอง. (2556). ปัจจัยที่มีผลต่อความผูกพันในองค์กรของพนักงานธนาคารออมสินภาค 5. การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ปกภณ จันทศาสตร์. (2557). ปัจจัยคุณสมบัติส่วนบุคคล ปัจจัยด้านลักษณะงาน และแรงจูงใจ
ที่มีผลต่อความผูกพันกับองค์กรของพนักงานเอกชนระดับปฏิบัติการ ในเขตลาดพร้าว-จตุจักร. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต, คณะบริหารธุรกิจ, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). จิตวิทยาการบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

มงคล นาฎกระสูตร. (2554). ทฤษฎีทางสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา. เข้าถึงได้จาก https://docs.google.com/document/d/1zCz-b1SI
xSf7Oix48oMkV3ZFfkShOGg1rG3OVOet6o/ edit.

มนชัย อรพิมพ์. (2550). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของข้าราชการกรมการค้าต่างประเทศ.กระทรวงพาณิชย์.วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต,
คณะวิทยาการจัดการ, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.

วิวรรธณี วงศาชโย. (2558). อิทธิพลของการรับรู้การสนับสนุนจากหัวหน้างานและการรับรู้การสนับสนุนจากองค์กร ที่ส่งผลต่อความตั้งใจลาออกผ่านความผูกพันต่อองค์กร
ด้านจิตใจของพนักงานจ้างเทศบาลนครนครปฐม. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการประกอบการ, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สิรินทร แซ่ฉั่ว. (2553). ความสุขในการทำงานของบุคลากรเชิงสร้างสรรค์: กรณีศึกษาอุตสาหกรรม
เชิงสร้างสรรค์กลุ่มสื่อและกลุ่มงานสร้างสรรค์เพื่อการใช้งาน. วิทยานิพนธ์หลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, คณะพัฒนาทรัพยากรมนุษย์, สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

อภิญญา ดีประทีป. (2560). พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การภายหลังการควบรวมธนาคารจากปัจจัยด้านวัฒนธรรมองค์การ การสื่อสารในองค์การและการมอบอำนาจในองค์การที่ส่งผ่านความเครียดในบทบาทหน้าที่. Ph. D. in Social Sciences Journal, 7(1), 120-135.

Cochran, W. G. (1977). Sampling techniques (3 rd ed). New York: John Wiley & Sons.

Dunham, R. B., Grube, J. A., & Castaneda, M. B. (1994). Organizational commitment: The utility of an integrative definition. Journal of Applied psychology, 79(3), 370.

Hackman, J. R., & Oldham, Greg R. (1975). Development of the job Diagnostic Survey. Journal of Applied Psychology. 60(2), 159-170.

Herbiniak, L. G., & Alutto, J. A. (1972). Personal and role related factors in the development of organizational commitment. Administrative Science. Quarterly, 17(4), 555-573.

Martin, T. N., & Hafer, J. C. (1995). The multiplicative interaction effects of job involvement and organizational commitment on the turnover intentions of full-and part-time employees. Journal of vocational behavior, 46(3), 310-331.

Mowday, R. T., Steers, R. M., & Porter, L. W. (1983). Motivation and work behavior. New York: Academic Press.

Robbins, S. P., & Coulter, M. (2007). Principles of management. Translated by Seyyed Mohammad Arabi and Mohammed Ali Hamid Rafiee and Behrouz Asrari Ershad (4th ed.). New Jersey: Prentice-Hall.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-18