เทคโนโลยีทางการศึกษาเพื่อสนับสนุนการจัดการศึกษาพิเศษในรูปแบบออนไลน์
คำสำคัญ:
เทคโนโลยีทางการศึกษา, การจัดการศึกษาพิเศษบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและหาประสิทธิภาพรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือ และเพื่อเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ความคงทนในการจำ และศึกษาความพึงพอใจของผู้เรียน กลุ่มตัวอย่าง เป็นนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ที่เรียนรายวิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2561 ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling) แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม โดยกลุ่มควบคุมเรียนแบบปกติ จำนวน 36 คน และกลุ่มทดลองเรียนแบบร่วมมือบนเครือข่ายคอมพิวเตอร์จำนวน 35 คน รูปแบบการเรียนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิภาพ 88.57/80.04 คำนวณด้วยวิธี KW # 2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน และ แบบสอบถามความพึงพอใจ ผลการวิจัยพบว่าพบว่า ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษากลุ่มทดลองสูงกว่าผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ความคงทนในการจำของนักศึกษากลุ่มทดลองค่าเฉลี่ยสูงกว่าของนักศึกษากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 เช่นกัน ความพึงพอใจของผู้เรียนที่มีต่อรูปแบบการเรียนแบบร่วมมือโดยรวมอยู่ในระดับ “มาก”
References
กมลรัตน์ หล้าสุวงษ์ (2528). จิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ฉลอง บุญญานันท์ (2547). การปฏิรูปการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้เป็นฐาน. กรุงเทพฯ : วัฒนาพานิช.
ชัยพจน์ รักงาม (2543). การจัดการเรียนรู้โดยใช้กระบวนการวิจัย. วารสารข้าราชการครู 20 สิงหาคม –กันยายน
ถนอมพร เลาหจรัสแสง (2545). หลักการออกแบบและการสร้างเว็บเพื่อการเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์อรุณการพิมพ์.
ทิศนา แขมมณี (2556). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ : บริษัทด่านสุธาการพิมพ์ จำกัด, พิมพ์ครั้งที่ 17.
ธีรวุฒิ โศภิษฐิกุล (2547). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนเน้นการร่วมมือกันเรียนรู้รายวิชากลุ่มสังคมศาสตร์ระดับอุดมศึกษา. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น.
นัดดา อังสุโวทัย (2550). การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนวิชาเคมีที่เน้นกระบวนการเรียนรู้แบบนำตนเองของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
บุญชม ศรีสะอาด (2545). การวิจัยเบื้องต้น. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ : สุวีรียาสาน์น.
บุปผชาติ ทัฬหิกรณ์ (2546). เทคโนโลยีสารสนเทศทางวิทยาศาสตร์ศึกษา.กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
พรพจน์ เพ็ชรทวีพรเดช (2547). ปัจจัยด้านพฤติกรรมการเรียนที่เกี่ยวข้องกับผลสัมฤทธิ์ทาง การเรียนของนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพฯ. [วิทยานิพนธ์] มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พันธ์ศักดิ์ พลสารัมย์. การปฏิรูปการเรียนการสอนระดับอุมศึกษา : การพัฒนากระบวนการเรียนรู้ในระดับปริญญาตรี. (ออนไลน์) 2557(อ้างเมื่อ 10 มกราคม 262) จาก http://www.edu.chula.ac.th/eduinfo/ed_resech/pansak.pdf
เพ็ญจันทร์ สังข์แก้ว (2545). รายงานการวิจัยศักยภาพนักศึกษาสถาบันราชภัฏ. เพชรบูรณ์ : คณะวิทยาการจัดการ สถาบันราชภัฏเพชรบูรณ์.
รังสรรค์ มณีเล็ก และคณะ (2546). การพัฒนาเครื่องมือสำหรับการประเมินการศึกษา. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
รัตติกาล สุทธิสวัสดิ์กุล (2547). การพัฒนาทักษะด้านคำศัพท์ภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้น ประถมศึกษาปีที่ 5 โดยใช้การสอนแบบโครงงาน. สารนิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการสอนภาษาอังกฤษในฐานภาษาต่างประเทศ, บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
วิทยา อารีราษฎร์ (2549). การพัฒนารูปแบบการสอนใช้คอมพิวเตอร์ช่วยแบบอัจฉริยะและมีส่วนร่วมผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์.วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
วิเศษ ชิณาวงศ์. “ปฏิรูปการเรียนรู้ผู้เรียนสำคัญที่สุด,”วารสารวิชาการ. 4 (2) (กุมภาพันธ์ 2544) : 31–41.
วัฒนาพร ระงับทุกข์ (2542) . การจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพฯ : เลิฟแอนด์เลิฟเพรส.
ศิริชัย กาญจนวาสี (2544). ทฤษฎีการทดสอบแบบดั้งเดิม . กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศุภางค์ ไทยสมบูรณ์สุข (2547). การพัฒนารูปแบบการเรียนแบบร่วมมือแบบร่วมกลุ่มเรื่องการบริหารโครงการในห้องเรียนเสมือนจริงสำหรับนิสิตระดับปริญญาตรี คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุจริต เพียรชอบ (2512). คู่มือครูวิชาภาษาไทย. พระนคร : มงคลการพิมพ์.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ (2544). ผู้บริหารสถานศึกษาต้นแบบ 2544. กรุงเทพฯ : สำนักนายกรัฐมนตรี.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา, กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). มาตรฐานการศึกษาของชาติ. กรุงเทพฯ : ห้าง หุ้นส่วน จำกัด สหายบล็อกและการพิมพ์.
สมิธ และอนงค์ วิเศษสุวรรณ์ . “การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ Facilitating Student - Centered Learning,” วารสารศึกษาศาสตร์. 2 (14) : 5 – 10, 2550.
อารี พันธ์มณี (2546). จิตวิทยาสร้างสรรค์การเรียนการสอน. กรุงเทพฯ : ใยใหม ครีเอทีฟ กรุ๊ป.
Arends, K. I. (1998). Learning to teach. New York : McGraw-Hill.
Beth Parry and others. Using photographic images as an interactive online teacher strategy. Center for Nursing and Health Studies, Athabasca University, University Drive, Athabasca, AB, Canada T9S 3A3, 2006.
Driscoll, M. Defining Internet-Based and Web-Based Training. Performance Improvement. 36(4), April 1997: 5-9, 1997.
Johnson, R.T. and Johnson, D.W. (1994). “An Overview of cooperative learning,” In J.S. Thousand, R.A. villa & A.I. Nevin (Ed.) Creativity And Collaborative Learning; Baltimore Maryland : Parl A. Brookes Publishing.
Joyce, B. and Weil, M (1996). Model of teaching. 5th ed. Boston : Allyn and Bacom.
Lawshe. C. H. A Quantitative Approach to Content Validity. Personnel Psychology, 563-575, 1975.
Schmitt, Norbert (2000). Vocabulary in Language Teaching. USA : Cambridge University Press.
Slavin, R.E (1990). Cooperative Learning : Theory, Research and Practice. New Jersey : Prentice – Hall.
Slavin, R.E (1995). Cooperative Learning : Theory. 2nd ed. Boston : Allyn and Bacon.
Yi Jia. “Building a Web-based collaborative learning environment,” International conference. 7 : F2D/7-F2D/9, 2005.