ประสิทธิผลของโปรแกรมสร้างเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองต่อพฤติกรรมสุขภาพ ของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง

ผู้แต่ง

  • ศิริรัตน์ ธะประวัติ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตุงลุง

คำสำคัญ:

ประสิทธิผล, การรับรู้ความสามารถตนเอง, โรคความดันโลหิตสูง

บทคัดย่อ

การวิจัยกึ่งทดลองนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการรับรูความ สามารถตนเองตอพฤติกรรมสุขภาพของผูสูงอายุโรคความดันโลหิตสูง อําเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี กลุมตัวอยางในการวิจัยครั้งนี้ เป็นผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ประกอบด้วย กลุมทดลองจำนวน 35 คน และกลุมควบคุม จำนวน 35 คน เครื่องมือที่ใช้ในการทดลองคือ โปรแกรมการสร้างเสริมการรับรู ความสามารถ ตนเองในการดูแลสุขภาพของผูสูงอายุโรคความดันโลหิตสูง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือแบบสัมภาษณ์ การรับรูความสามารถตนเองตอพฤติกรรมสุขภาพของผูสูงอายุโรคความดันโลหิตสูง ระยะเวลาในการวิจัย 12 สัปดาห์ ตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ค่าดรรชนีความสอดคล้องระหว่างวัตถุประสงค์และคำถาม (IOC) ระหว่าง 0.67 -1.00 ค่าสัมประสิทธิ์ความเชื่อมั่น (Cronbach’s Alpha) ของตัวแปรการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังต่อผลการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพ และพฤติกรรมสุขภาพ เท่ากับ .77, .76, และ .76 ตามลำดับ วิเคราะหขอมูลดวยสถิติการแจกแจงความถี่ รอยละ ค่าเฉลี่ย สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และสถิติทดสอบค่าทีในกลุ่มตัวอย่าง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน

              ผลการวิจัยพบวา ภายหลังการทดลอง กลุมทดลองมีการรับรูความสามารถตนเองมีความแตกต่างของค่าเฉลี่ยแบ่งตามการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังต่อผลการปฏิบัติพฤติกรรมสุขภาพและพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ t = 12.67, 10.23, 12.48, (Sig. =.001, .046, .047) ตามลำดับ

References

กนกวรรณ อุดมพิทยารัชต์. (2556). โปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถตนเองเพื่อส่งเสริม พฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบ สาเหตุ. วารสารวิชาการ Veridian E- Journal, ปีที่ 7(ฉบับที่ 1เดือนมกราคม – เมษายน 2557), หน้า 62 - 72. https://he02.tci-thaijo.org › article › download
จันจิราภรณ์ วิชัย, สายสมร พลดงนอก, และกิตติศักดิ์ สวรรยาวิสุทธิ์. (2558). ความรู้เรื่องโรคความดันโลหิตสูง (Hypertension) พิมพ์ครั้งที่ 1. ขอนแก่น : หน่วยสร้างเสริมสุขภาพ งานเวชกรรมสังคมโรงพยาบาลศรีนครินทร์. https://www.srinagarind.md.kku.ac.th/New%20folder/.pdf
จินตนา จักรสิงห์โต และรัตนา พันจุย. (2561). ประสิทธิผลของโปรแกรมการรับรู้ความสามารถแห่งตนต่อพฤติกรรมการ ควบคุม ความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ โรงพยาบาลโคกสูง จังหวัดสระแก้ว. วารสารโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์, ปีที่ 12(ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม-เมษายน 2561). หน้า 56 – 67 https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jnat-ned/article/view /181717
จุฑารัตน์ ศิริพัฒน์ ,สุทธีพร มูลศาสตร์ และ ฉันทนา จันทวงศ์. (2561). ประสิทธิผลของโปรแกรมป้องกันโรคความดัน โลหิตสูง ในบุคคลที่เสี่ยงต่อโรคความดันโลหิตสูง วารสารโรคและภัยสุขภาพ สำนักงานป้องกนควบคุมโรคที่ 3 จังหวัดนครสวรรค์, ปีที่ 37(ฉบับที่ 1 มกราคม-เมษายน 2561). หน้า 42 – 57. https://he01.tci-thaijo.org/ index.php/jnat-ned/article /view/181717
ไชยา จักรสิงห์โต. (2560). ประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพในกลุ่มผู้ที่มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการป่วย ด้วยโรคเบาหวาน ความดันโลหิตสูง และโรคอ้วน (วิทยานิพนธ์ ปริญญา สาธารณสุขศาสตร์มหาบัณฑิต) มหาวิทยาลัยราชภัฏราชครินทร์ http://thesis.rru.ac.th/files/pdf/689_2018_11_21_092247.pdf
ณัฐธิวรรณ พันธ์มุง, อลิสรา อยู่เลิศลบ และ สราญรัตน์ ลัทธิ. (2562). ประเด็นสารรณรงค์วันความดันโลหิตสูงโลก ปี2562.http://www.thaincd.com/document/hot%20news/ประเด็นสารวันความดันโลหิตสูง_62.pdf
ปฐมธิดา บัวสม, ยินดีพรหมศิริไพบูลย์ และ อติญาณ์ ศรเกษตริน. (2560). ผลของการใช้โปรแกรมส่งเสริมสมรรถนะแห่ง ตน ต่อการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยง โรคความดันโลหิตสูง ในตำบลรมณีย์ อำเภอกะ ปง จังหวัดพังงา วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ปีที่ 5 ฉบับที่ 4 ตุลาคม - ธันวาคม 2560. หน้า 549 – 567https://home.kku.ac.th/chd/index.php?option=com_attachments&task =download&id=265&lang=th
ปรียาภรณ์ นิลนนท์. (2560). การรับรู้ความสามารถของตนเองในด้านการบริโภคอาหารและการออก กำลังกายของ สมาชิกชมรมผู้สูงอายุ อำเภอบางคล้า จังหวัดฉะเชิงเทรา วารสารราชนครินทร์ กรกฎาคม-ธันวาคม 2560. หน้า 93 – 100. http://academic.rru.ac.th/wp-content/uploads/2020/12/98C.pdf
ยุพาพร นาคกลิ้ง และ ปราณี ทัดศรี. (2560). ผลของโปรแกรมการสร้างเสริมการรับรู้ความสามารถตนเองต่อพฤติกรรม สุขภาพของผู้สูงอายุ โรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุม ระดับความดันโลหิตไม่ได้ วารสารสมาคมสถาบันอุดมศึก ษาเอกชนแห่งประเทศไทยในพระราชูปถัมย์ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1 เดือน มกราคม-มิถุนายน 2560 หน้า 27 – 35 http://apheit.bu.ac.th/jounal/science-vol6- 1/3_07_formatted%20V6-1.pdf
รัตนากร จันใด, ชวนชัย เชื้อสาธุชน, พจนีย์ เสงี่ยมจิตต์. (2559). ผลของโปรแกรมส่งเสริมการรับรู้สมรรถนะของตนเอง ร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการใช้ยาลดระดับความดันโลหิตสูง ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์, ปีที่ 5(1), หน้า 75-89. http://phn.ubru.ac.th/2016/images/PDF/ varasan /5P159.pdf
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลตุงลุง. (2562). แฟ้มเอกสารบันทึกผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
วิชัย เอกพลากร. (2559). รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 5 พ.ศ.2557. สำนักพิมพ์ อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์. http://nutrition.anamai.moph.go.th/ewtadmin/ewt/nutrition/images /files/% 205.pdf
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดอุบลราชธานี. (2562). คลังข้อมูลสุขภาพ (Health Data Center: HDC)
http://zone3.phoubon.in.th/hdc/main/index.php
สำนักงานสาธารณสุขอำเภอโขงเจียม. (2562). แฟ้มข้อมูลโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ปี 2562. http://www.ssokhongchiam. go.th
อัมมร บุญช่วย. (2558). ผลของโปรแกรมส่งเสริมสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุโรคความดันโลหิตสูง โรงพยาบาลส่งเสริม สุขภาพตำบลไทรทอง อำเภอชัยบุรี จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชนมหาวิทยาลัยขอนแก่น, ปีที่ 3(ฉบับที่ 2 เมษายน – มิถุนายน 2558) หน้า 231 – 244 https://home.kku.ac.th/chd/index.php? option=com_ attachments &task=download&id=120&lang=th
อารีรัตน์ คนสวน. (2557). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมสมรรถนะแห่งตนและการสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการ ควบคุมอาหารและระดับความดันโลหิต ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมความดันโลหิตไม่ได้ [วิทยานิพนธ์ ปริญญามหาบัณฑิต]https://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2010/10057
Bandura A.(1977). Self-efficacy: toward a unifying theory of behavioral change. Psychol Rev. 1977 Mar;84(2):191-215. doi: 10.1037//0033-295x.84.2.191. PMID: 847061Cronbach, L.J. (1984). Essential of Psychological Testing. Harper & Row.
Faghri, P. , Simon, J. , Huedo-Medina, T. , Gorin, A. (2016). Effects of self-efficacy on health behavior and body weight. Journal of Obesity & Weight Loss Therapy Volume 6(Issue 6) 2-7 https://www.cabdirect.org/cabdirect/abstract/20173204447
Institute for Digital Research & Education : Statistical and Consulting, University of California, Los Angeles. (2021). What does Cronbach’s Alpha mean? https://stats.idre.ucla.edu/spss/faq/ what-does-cronbachs-alpha-mean/
Yu Jeong, Kim. & Su Mi, Kim. (2014). The Effect of Self-efficacy Promotion Exercise Program for the Elderly Hypertensives Journal of Digital Convergence 2014 Nov; 12(11): 487-497 https://www.koreas cience.or.kr/article/JAKO2014363510 75141.pdf

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-20