สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาและการใช้คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่มี ผลต่อสมรรถนะของผู้เรียนสังกัดสำนักงานศึกษาธิการภาค 14

ผู้แต่ง

  • จริยา กรุณา ภานุมาศ จินารัตน์ และเปรมยุดา ลุสมบัติ University

คำสำคัญ:

สมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษา, การใช้คอมพิวเตอร์เทคโนโลยี, สมรรถนะผู้เรียน

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

            งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาและการใช้คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีกับสมรรถนะของผู้เรียน 2) เพื่อวิเคราะห์อิทธิพลที่มีผลต่อการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียน โดยผู้วิจัยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารและครูในสังกัดสำนักงานศึกษาธิการภาค 14 จำนวน 400 คนนำกลับมาวิเคราะห์ผล

            ผลวิจัยพบว่า 1) องค์ประกอบสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษามีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันกับการใช้คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีระดับปานกลางถึงมากอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และองค์ประกอบการใช้คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีมีความสัมพันธ์ไปในทิศทางเดียวกันสมรรถนะผู้เรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 2) องค์ประกอบของสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาและการใช้คอมพิวเตอร์เทคโนโลยีที่มีอิทธิพลร่วมกันต่อการพยากรณ์ระดับสมรรถนะผู้เรียนนั้นประกอบด้วย การใช้เทคโนโลยีข้อมูล การใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีเพิ่ม ปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ชั้นสูง การใช้ข้อมูลและการสื่อสาร ความสามารถทำงานในสิ่งแวดล้อมเสมือนจริง และความรอบรู้ด้านเทคโนโลยี โดยมีค่าสัมประสิทธิ์พยากรณ์ร่วมกันที่ R2 = .56 และมีค่า F = 85.00 (Sig.000)

References

เอกสารอ้างอิง (References)

ณัฐพัชร์ พูลสวัสดิ์. (2555). สมรรถนะผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษาสถาบันการพลศึกษาใน

ประเทศไทย. วารสารคณะพลศึกษา 15(2), น. 207-219.

เดลินิวส์ (2564). โควิดชี้ไทย ‘AI-นวัตกรรม’ นี่ก็ต้องสปีดปั้นคน. เดลินิวส์. วันที่ 8 ตุลาคม 2564.

พนิตา จันทรรัตน์ (2557). การศึกษาสมรรถนะหลักของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดส านักงานเขต

พื้นที่การศึกษาประถมศึกษาพิษณุโลก เขต 3. วิทยานิพนธ์ครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชา

การบริหารการศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, พิษณุโลก.

มติชน (2564). จับเข่าเลขา สพฐ. ปี 65 ตั้งหลักใหม่ ซ่อม-เสริม-เรียนรู้. มติชนรายวัน, วันที่ 14

ธันวาคม 2564, น.5)

เยาวลักษณ์ ซื่อสัตย์ สุรางคนา มัณญานนท์ และเจริญวิชญ์ สมพงษ์ธรรม (2564). การศึกษาสมรรถนะและแนวทาง

พัฒนาด้านการบริหารจัดการเทคโนโลยี สารสนเทศ ของผู้บริหารสถานศึกษา กลุ่มเครือข่ายสหวิทยา เขต 8 (ศรีนครอัจจะ) สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 33. Journal of Educational Innovation and Research, 5(1), 136-147.

ยุทธ ไกยวรรณ. (2556). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย AMOS, พิมพ์ครั้งที่ 1: กรุงเทพมหานคร, ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วีระศักดิ์ จินารัตน์ (2564). ระเบียบวธีวิจัยสมัยใหม่ (Modern Research Methodology). อุบลราชธานี:

สำนักพิมพ์ยงสวัสดิ์อินเตอร์กรุ๊ป.

มานะ ครุธาโรจน์ (2563). กลยุทธ์การพัฒนาสมรรถนะผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ยุคการศึกษา

0. วิทยานิพนธ์หลักสูตรศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต, วิทยาลัยครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิบัณฑิต

สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (2549). รวมกฎหมาย

กฎระเบียบการบริหารงานบุคคลด้านกฎหมายของขาราชการครูและบุคลากร

ทางการศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการขาราชการครูและบุคลากรทางศึกษา

อุทัย ภักดีประยูรวงศ์ (2556). สมรรถนะผู้บริหารโรงเรียนในศตวรรษที่ 21 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 20. การศึกษาอิสระ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

Beetham, H (2015). Deepening digital know-how: building digital talent Key issues in

framing the digital capabilities of staff in UK HE and FE. Bristol: JISC.

Boyatzis, R. E. (1982). The competent manager: A model for effective performance.

New York, NY: Wiley.

Cvetkovic, B.N., Stanojevic, D. & Milanovic, A. (2019). Application of computers in

teaching and learning from the teacher‘s point of view. TEME, 6(4), pp.1231-1244.

Çoklar, A. N. , & Kabakçı Yurdakul, I. (2017). Technology integration experiences of

teachers. Discourse and Communication for Sustainable Education, 8 (1),

-31.

Džigurski, S. Simić, S. Marković, S., Ščepanović, D. (2013). Istraživanje o upotrebi

informaciono-konmunikacionih tehnologija u školama u Srbiji. [Research on theuse of the informational-communicational technologies in Serbian schools]. Retrieved from http://socijalnoukljucivanje.gov.rs/wp-content/uploads/2014/06/Istrazivanje-o-upotrebi-IKT-u-skolama-u-Srbiji-jun-2013.pdf

Eglash, R., Lachney, M., Babbitt, W., Bennett, A., Reinhardt, M. & Davis, J. (2020).

"Decolonizing education with Anishinaabe arcs: generative STEM as a path to indigenous futurity," Educ. Technol. Res. Dev., 68(3), 1569-1593.

Fulgence, K.(2020). Developing digital fluency among teacher educators: Evidence

from Tanzanian Schools of Education. International Journal of Education and

development using Information and Communication Technology (IJEDICT), 16(2), 158-175.

Gündüzalp, S. 21st Century Skill for Sustainable Education: Prediction Level of

Teachers’ Information Literacy Skill on Their Digital Literacy Skill. Discourse and Communication for Sustainable Education, 12(1), 85-101.

Guitert, M., Romeu, T., & Colas, J. (2020). Basic digital competences for unemployed citizens:

conceptual framework and training model. Cogent Education (2020), 7:1748469

Hassan, S. (2010). Developing staff for the implementation of problem-based learning:

Experiences from Botswana. South African Journal of Higher Education. 24(1), 84-97.

Unisa Press ISSN 1011-3487.

Hbaci, I., Yu Ku, H. & Abdunabi, R. E (2021). Valuating higher education educators’

computer technology competencies in Libya. Journal of Computing in Higher Education, 33, 188-205 http://doi.org/10.1007/s12528-020-09261

Kearsley, G. (2013). Management of online programs. In Moore, M. G. (Ed.), Handbook

of distance education (pp. 425 -436), Routledge: New York and London.

Khoshouei, M. S. , Oreyzi, H. R. , & Noori, A. (2013). The Eight Managerial

Competencies: Essential Competencies for Twenty First Century Managers. Iranian Journal of Management Studies, 6(6), 131-152.

Moody, J. (2004). Why are the attrition rates so high?. Quarterly Review of Distance Education,

(3), 205-210.

Moore, M. G. & Kearsley, G. (2011). Management, Administration, and Policy, In M.G.

Moore & G. Kearsley (Eds.), Distance education: A systems view of online learning (pp.175 204). Belmont, CA: Wadsworth.

Nawaz, A., & Qureshi, Q.A. (2019). E-Teaching / E-Pedagogy Threats & Opportunities for Teachers

In Heis. Global Journal of Management and Business Research. 12(8), 372-377.

Nworie, J. (2012). Applying Leadership Theories to Distance Education Leadership.

Online Journal of Distance Learning Administration, 15(4), Retrieved from

http://www.westga.edu/~distance/ojdla/winter 154 / nworie 154.html

Qutoshi S.B., Poudel, T. (2019). Student Centered Approach to Teaching: What Does it

Mean for the Stakeholders of a Community School in Karachi, Pakistan? Journal of Education and Research. 4(1), 24-38.

Salite, I., Ilisko, D., Lindner, J. & Berise, H. (2020). Editorial from Initiatives, to Insights,

to Implementation of the Sustainability and Securitability Agenda for 2030. SCIENDO, DOI: 10.2478/dcse-2020-0001.

She, H.C., & Lee, C.Q. (2008). SCCR digital learning system for scientific conceptual

change and scientific reasoning. Computers & Education, 51, 724–742.

Tanti, D. S. & Ananda, I A. (2018). Analisis Kompetensi Mahasiswa dalam Menghadapi

Masyarakat Ekonomi ASEAN. Jurnal Visi Komunikasi. 1(1), 1-5.

Torff, B., & Tirotta, R. (2010). Interactive whiteboards produce small gains in

elementary students' selfreported motivation in mathematics. Computers & Education, 54(2), 379-383. doi: 10.1016/j.compedu.2009.08.019

Uerz, D., Volman, M., & Kral, M. (2018). Teacher educators' competences in fostering

student teachers ' proficiency in teaching and learning with technology: An overview of relevant research literature. Teaching and Teacher Education, 70, 12-23.

https://doi.org/10.1016/j.tate.2017.11.005

Woodruffe, C. (1993). What is meant by a competency?. Leadership & Organization

Development Journal, 14 (1), 29-36.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-25