ปัจจัยที่ส่งผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนและการพัฒนา การท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน
คำสำคัญ:
การมีส่วนร่วมของประชาชน, การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนบทคัดย่อ
การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนในพื้นที่ชนบทจำเป็นต้องอาศัยกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชนในชุมชนหากแต่จำเป็นต้องได้รับการสนับสนุนจากรัฐบาล และด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยได้รวบรวมความเห็นของหัวหน้าครัวเรือนในเขตจังหวัดยโสธรจำนวน 391 คนมาศึกษาอิทธิพลพยากรณ์ของปัจจัยที่มีผลต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนและมีต่อการพัฒนาการท่องเที่ยงเชิงเกษตรอย่างยั่งยืน โดยใช้สถิติวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณทั้งแบบ Stepwise และแบบ Enter
ผลวิจัยพบว่า ปัจจัยอิทธิพลในด้านปัจจัยกายภาพ การเข้าถึงตลาดและการสนับสนุนจากรัฐบาลมีอิทธิพลพยากรณ์ร่วมกันต่อการมีส่วนร่วมของประชาชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ R2 .58 ความคลาดเคลื่อนสะสม .36 และความสามารถอธิบายความแปรปรวนร่วมกันที่ F = 135.65 (Sig. 000) ผลวิจัยยังพบเพิ่มเติมอีกว่า การมีส่วนร่วมของประชาชนมีผลต่อการพยากรณ์การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรอย่างยั่งยืนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีสัมประสิทธิ์พยากรณ์ตามค่า R2 = .67 ความคลาดเคลื่อนสะสม .31 ความแปรปรวนร่วมกันของตัวแปรอิสระ 146.47 (Sig. 000)
References
กรมการท่องเที่ยว. (2557). คู่มือการตรวจประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์องค์กรสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์.
จินตนา สุจจานันท์. (2559). การศึกษาตลอดชีวิตและการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.
จีรนันท์ เขิมขันธ์. (2561). มุมมองของการพัฒนาภาคการท่องเที่ยวเชิงเกษตรในประเทศไทย. วารสารเกษตรพระจอมเกล้า. 36 (2) : 162-167.
ชาตรี แก้วมา. (2559). แนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงนิเวศในจังหวัดร้อยเอ็ด. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการวางแผนและการจัดการการท่องเที่ยวเพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
เทิดชาย ช่วยบำรุง. (2563). การท่องเที่ยวเชิงเกษตรสุราษฎร์ธานี: การวิจัยฐานทรัพยากรเกษตรสู่การท่องเที่ยวยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
นิรันดร์ จงวุฒิเวศน์. (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ศักดิ์โสภณการพิมพ์.
นิออน ศรีสมยง. (2562). การจัดการทรัพยากรการท่องเที่ยวในชนบทและทรัพยากรการท่องเที่ยวเชิงเกษตร. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.
ปัญญาดา นาดี. (2561). การพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงเกษตรสู่ความยั่งยืน. วารสารมหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 8(2), 113-124.
รำไพพรรณ แก้วสุริยะ. (2557). การบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร. เอกสารประกอบการบรรยายในการฝึกอบรมหลักสูตรการพัฒนาและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงเกษตร ปี 2557 วันที่ 25 พฤษภาคม 2557 ณ โรงแรมสองพันบุรี อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี. (อัดสำเนา) พัฒนาและจัดการการท่องเที่ยวเชิงเกษตร (Agro tourism) สภาวิจัยแห่งประเทศไทย กรุงเทพมหานคร.
วรวุฒิ ภักดีบุรุษ. (2563).ปัญหาและศักยภาพของการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยชุมชนของบ้านดอนซาก ตำบลห้วยงู อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม.
วิไลลักษณ์ รักบำรุง, ทวีป พรหมอยู่ และ คัทลียา จันดา. (2565). อิทธิพลของมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร และการจัดการแหล่งท่องเที่ยว ที่ส่งผลต่อความยั่งยืนของแหล่งท่องเที่ยวเชิงเกษตร. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. 6(1), 91-109.
วิไลลักษณ์ รัตนเพียรธัมมะ. (2561). รูปแบบการท่องเที่ยวเชิงเกษตรโดยการมีส่วนร่วมของชุมชน เขตสายไหม. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 36(3), 11-44.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี,
ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.
สำนักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดยโสธร. (2565). ข้อมูลด้านการเกษตรจังหวัดยโสธร ปี 2565, สืบค้นจากhttps://www.opsmoac.go.th/yasothon-dwl-files-442791791122
อนุภาพ ถิรลาภ. (2558). กลยุทธ์การพัฒนาอุตสาหกรรมเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร: สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.
Adom, D., Alimov, A., & Gouthami, V. (2021). Agritourism as a preferred travelling trend in
boosting rural economies in the post-COVID-19 period: Nexus between agriculture,
tourism, art and culture. Journal of Migration, Culture and Society. 7(1).
Erik, H.P. (2011). Rural tourism and the development of small town. Tour. Trib. 2011, 12, 5-7
Huang, J.C., Wang, J., Nong, Q., & Xu, J.F. (2023). Using a Modified DANP-mV Model to Explore the
Improvement Strategy for Sustainable Development of Rural Tourism. Sustainability, 15,
https://doi.org/10.3390/su15032371
Muresan, L.C., Oroian, C.F, Harun, R., Arion, F., Porutiu, A., Chiciudean, G.O., Todea, A., & Lile, R.
(2016). Local residents' attitude towa sustainable rural tourism development. Sustainability,
, 100.
Nugroho, P., & Numata, S. (2022). Influence of Sociodemographic Characteristics on the Support of
an Emerging Community-based Tourism Destination in Gunung Ciremai National Park,
Indonesia. Journal of Sustainable Forestry, 41(1), 51-76.
Wan,B.,& Bi,C.(2022).Research on the new trend of sustainable development of rural
tourism in Xi'an in the post pandemic period,Technium Social Sciences Journal. 37, 359-368,
Wang, Q.Y, L, M. & Yang, Y.L. (2019). Study on the issues of rural tourism eco-environment and
governance strategy. Fresen. Environ. Bi, 2019, 28, 10083-10088