อิทธิพลของคุณภาพบริการรัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลต่อการเข้าร่วมและ ความพึงพอใจของประชาชน
คำสำคัญ:
คุณภาพรัฐอิเล็กทรอนิกส์, การเข้าร่วมของประชาชน, ความพึงพอใจบทคัดย่อ
การพัฒนารัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ผ่านการศึกษาแนวทางพัฒนาคุณภาพการให้บริการของรัฐอิเล็กทรอนิกส์หรือการใช้เว็บไซด์จัดให้มีบริการแก่ประชาชนจำเป็นต้องอาศัยองค์ประกอบที่ต่างกันเพื่อให้ส่งผลกระทบต่อการเข้าร่วมและความพึงพอใจของประชาชนได้จริง ซึ่งผู้วิจัยใช้แบบสอบถามไปรวบรวมความเห็นของประชาชนในเขตจังหวัดอุบลราชธานี อำนาจเจริญ ศรีสะเกษ และยโสธร จำนวน 450 คนมาเพื่อศึกษาอิทธิพลพยากรณ์ของคุณภาพบริการรัฐอิเล็กทรอนิกส์ที่ส่งผลต่อการเข้าร่วมและความพึงพอใจของประชาชน แล้วนำกลับมาวิเคราะห์สมการพยากรณ์
ผลวิจัยพบว่า คุณภาพบริการ คุณภาพข้อมูลและความปลอดภัยเป็นองค์ประกอบของคุณภาพบริการรัฐอิเล็กทรอนิกส์ที่มีผลพยากรณ์ต่อการเข้าร่วมของประชาชนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ค่า R2 .53 ความคลาดเคลื่อนสะสม .52 ความสามารถในการอธิบายความแปรปรวนร่วมกันที่ 171.92 (Sig. 000) ทั้งนี้มีอิทธิพลของคุณภาพบริการร้อยละ 32 คุณภาพข้อมูลร้อยละ 32 และความปลอดภัยอักร้อยละ 15 กับผลวิจัยพบว่า คุณภาพบริการรัฐอิเล็กทรอนิกส์ด้านความปลอดภัยมีอิทธิพลต่อความพึงพอใจของประชาชนร้อยละ 23 คุณภาพข้อมูลร้อยละ 21 ความเป็นส่วนตัวร้อยละ 14 และคุณภาพบริการร้อยละ 13 โดยทั้ง 4 องค์ประกอบมีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ R2 = .43 ความคลาดเคลื่อนสะสม .91 ความแปรปรวนร่วมกันที่ F = 84.23 (Sig. 000)
References
กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ. (2554). บทที่ 5 การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง, สืบค้นจาก
https://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554....PDF
ณัฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2551). พฤติกรรมองค์การ. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ประไพพิมพ์ สุธีรสินนนท์ และประสพชัย พสุนนท์. (2559). กลยุทธ์การคัดเลือกตัวอย่างสำหรับการวิจัยคุณภาพ,
วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 29(2), 31-48.
ปาริฉัตร ถนอมวงษ์. (2561). ความพึงพอใจในการเลือกใช้บริการและคุณภาพการให้บริการมีอิทธิพลต่อการพัฒนาธุรกิจเงินฝากของธนาคารออมสิน ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร (ภาค 3). วิทยานิพนธ์ธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการเงินและธนาคาร. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยสยาม.
พรพิมล คงฉิม. (2554). การศึกษาความพึงพอใจและความต้องการของลูกค้าที่ได้รับบริการจากบริษัท เอ็ม. เอช. อี ดีแมก (ที) จำกัด. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนว. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
พิธุวรรณ กิติคุณ. (2558). การจัดการภาครัฐ: รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
เพ็ญนภา จรัสพันธ์. (2557). ความพึงพอใจของลูกค้าต่อคุณภาพการให้บริการของศูนย์บริการลูกค้าจีเนท โมบายเซอร์วิส เซ็นเตอร์ จันทบุรี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการภาครัฐ และภาคเอกชน. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.
วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์
อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.
สมชัย อักษรารักษ์ และ อศินา พรวศิน. (2557). โฉมหน้าบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐเพื่อคนไทย. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สุวิมล คำย่อย. (2555). ความพึงพอใจของผู้มารับบริการโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยวก อำเภอน้ำโสม จังหวัดอุบลราชธานี. อุดรธานี: โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านหยวก.
อมรา อินทรวงศ์. (2557). พฤติกรรมความพึงพอใจต่อการใช้บริการประกันสุขภาพถ้วนหน้า งานทันตกรรมของโรงพยาบาลสารภี จังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
Alawneh, A., Al-Refai, H. and Batiha, K. (2013), "Measuring user satisfaction from e-government
services: Lessons from Jordan", Government Information Quarterly, 30(3), 277-288.
Amor, N. E. B. (2021). Exploring Citizens' Motives influencing the satisfaction with and adoption
of E-Government Services in the Kingdom of Saudi Arabia. FWU Journal of Social Sciences, Winter 2021, 15(4), 77-91.
Androniceanu, A., & Georgescu, 1. (2022). E-participation in Europe: a comparative perspective.
Public Administration Issues, 5(I), 7-29.
Chen, Z.J., Vogel, D. and Wang, Z.H. (2016), "How to satisfy citizens? Using mobile government to
reengineer fair government processes", Decision Support Systems, 82(2), 47-57.
Huijan, O., Al-debei, M.M., Al-Adwan, A. S., & Alarabiat, A. (2023). Examining the antecedents and
outcomes of smart government usage: An integrated model, Government Information
Quarterly, 40.
James, O. (2007). Evaluating the expectations disconfirmation and expectations anchoring
approaches to citizen satisfaction with local public services. Journal of Public
Administration Research and Theory, 19(1), 107-123.
Jeffrey, R. (2008). Service, Security, Transparency and Trust: Government Online or Governance
Renewal in Canada?. In D. Norris (Eds.). E-Government Research: Policy and Management. 314-335.
Mat Dawi, N., Namazi, H., Hwang, H. J.. Ismail, S., Maresova, P., & Krejcar, O. (2021). Attitude toward
protective behavior engagement during COVID-19 pandemic in Malaysia: the role of
e-government and social media. Frontiers in public health, 9, 113.
Nulhusna, R., Sandhyaduhita, P., Hidayanto, A. and Phusavat, K. (2017), The relation of
e-government quality on public trust and its impact on public participation, Transforming Government: People, Process and Policy, 11(3), 393-418.
Rana, N.P., Dwivedi, Y.K., Williams, M.D. and Weerakkody, V. (2015), Investigating success of an
e-government initiative: validation of an integrated is success model", Information Systems
Frontiers, 17(1), 127-142.
Vassilakis, C., Lepouras, G. & Halatsis, C. (2007). A knowledge-based approach for developing multi-
channel e-government services. Electronic Commerce Research and Applications. 6,
-124.
Wang, C., Teo, , T.S.H., Dwivedi, Y., & Jassen, M. (2021). Mobile services use and citizen satisfaction
in government: integrating social benefits and uses and gratifications theory. Information
Technology & People, 34(4), 1313-1337.
Welch, E.W., Hinnant, C.C. and Moon, M.J. (2005), "Linking citizen satisfaction with e-government
and trust in government", Journal of Public Administration Research and Theory, 15(3), 371-391.