ปัจจัยอิทธิพลที่มีผลต่อสมรรถนะครูและภาวะการเรียนรู้ถดถอยในโรงเรียนมัธยมศึกษา จังหวัดอุบลราชธานี และจังหวัดอำนาจเจริญ

ผู้แต่ง

  • นวลนภา พระพรหม ภานุมาศ จินารัตน์ และสมสัตย์ แทนคำ -

คำสำคัญ:

ปัจจัยอิทธิพล, สมรรถนะครู, ภาวะการเรียนรู้ถดถอย

บทคัดย่อ

ภาวะการเรียนรู้ถดถอยในนักเรียนระดับมัธยมศึกษาอาจพัฒนาได้ผ่านปัจจัยอิทธิพลและการพัฒนาสมรรถนะครูผู้สอน ซึ่งด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงได้รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารและครูโรงเรียนมัธยมศึกษาอุบลราชธานี และอำนาจเจริญ จำนวน 399 คน มาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ

ผลวิจัยพบว่า มีแต่เฉพาะปัจจัยอิทธิพลด้านความพร้อมของผู้เรียนมีผลต่อการทำนายภาวะการเรียนรู้ถดถอยอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00 มีคะแนนมาตรฐานที่ .79 ผลทดสอบ t = 25.83 (Sig. 000) รวมถึงมีสัมประสิทธิ์ถดถอย R2 .62 ความคลาดเคลื่อนสะสม .29 และความแปรปรวน F = 667.44 (Sig. 000) ตลอดจนความเป็นอิสระของตัวแปรพยากรณ์ที่ค่า Durbin-Watson ที่ 1.90 นอกจากนี้ สมรรถนะครูมีอิทธิพลต่อการพยากรณ์ภาวะการเรียนรู้ถดถอยได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 โดยมีผลทดสอบ t = 2.47 (Sig. 014) กับมีคะแนนมาตรฐานของการสะท้อนผลการเรียนรู้ที่ .86 ค่า t = 24.45 (Sig. 000) อย่างไรก็ตาม ความพร้อมของผู้เรียน การสะท้อนผลการเรียนรู้ และการลงมือปฏิบัติ สามารถอธิบายอิทธิพลพยากรณ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติต่อแนวทางการพัฒนาภาวะการณ์เรียนรู้ถดถอยที่สัมประสิทธิ์ R2 .79, .86 และ -.15 (Sig. .000) ตามลำดับ)

 

Author Biography

นวลนภา พระพรหม ภานุมาศ จินารัตน์ และสมสัตย์ แทนคำ, -

-

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2565). แผนพัฒนาการศึกษาขั้นพื้นฐาน (พ.ศ.2566-2570), สำนักงานคณะกรรมการ

การศึกษาขั้นพื้นฐาน

กรุงเทพธุรกิจ. (2565). เมื่อเด็กยุคโควิคเผชิญภาวะการเรียนรู้ถดถอย รัฐต้องแก้ไขอย่างไร, สืบค้นจาก

https://www.bangkokbiznews.com/social/1007890

กสศ. (2564). 5 มาตรการฟื้นฟูการเรียนรู้ที่ถดถอยทั้งระบบ โรงเริยนเตรียมความพร้อมรองรับการเปิดเทอม

อย่างไร?, สืบค้นจาก https://www.eef.or.th/article-tsqp-5-measures-to-restore-system-wide-regression-learning/

กัญญ์สิริ จันทร์เจริญ. (2554). บทที่ 5 การกำหนดประชากรและกลุ่มตัวอย่าง, สืบค้นจากhttps://www.ict.up.ac.th/surinthips/ResearchMethodology_2554....PDF

จิราเจต วิเศษดอนหวาย. (2565). Learning loss คือวิกฤติที่รอผู้ใหญ่ทุกคนพลิกให้เป็นโอกาส, สืบค้นจากhttps://educathai.com/knowledge/articles/617

เจนวิทย์ นวลแสง. (2021). จริยธรรมการวิจัยในมนุษย์กับการวิจัยทางสังคมศาสตร์, วารสารการเมือง การบริหาร

และกฎหมาย, 10(2), 131-155.

นรรธพร จันทร์เฉลี่ย เสรีบุตร. (2564). ภาวะความรู้ถดถอยที่ต้องเร่งแก้ไขในมุมมองของ CEO Starfish

Education, สืบค้นจาก https://www.starfishlabz.com/blog/

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในงานวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัย

ทักษิณ, 27(1), 144-163.

พระครูปริยัติคุณรังสี. (2559). การพัฒนาศักยภาพนักเรียนในศตวรรษที่ 21, วารสารวิชาการ มจร. บุรีรัมย์, 1(2), 115-129.

ภัทธธิดา ไทยอุสาห์. (2022). ก้าวต่ออย่างไรเมื่อเด็กไทยเรียนรู้ถดถอยจากการปิดโรงเรียนช่วงโควิค ?, สืบค้นจากhttps://www.the101.world/kid-for-kids-learning-loss/

ภูมิพัฒน์ ศรีวชิรพัฒน์. (2565). กลยุทธ์เพื่อลดภาวะถดถอยทางการเรียนรู้ของนักเรียนไทยจากการเรียนการสอน

ออนไลน์ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิค-19, วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ

มหาวิทยาลัยมหิดล, 9(1), 71-86.

ภานุมาศ จินารัตน์. (2565). วิถีการจัดการความกดดันตามปกติใหม่ของประชาชนในเขตภาคอีสานตอนล่าง

เรวดี จันทร์รัศมีโชติ สมโภชน์ อเนกสุข และพงษ์เทพ จิระโร. (2558). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ด้วยตนเองของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยการประยุกต์ใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิซึมสู่การเรียนรู้ด้วยกระบวนการวิจัย, วารสารศึกษาศาสตร์, 26(3), 14-27.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุต พัฒผล. (2562). การเรียนรู้อย่างจริงจังตั้งใจ, ศูนย์ผู้นำนวัตกรรม หลักสูตรและการเรียนรู้,

สืบค้นจาก http://www.curriculumandlearning.com/upload/Books/Active%20learning_

pdf

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์

อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.

วสศ. (2023). สตาร์ทอัพฝรั่งเศส Beyond education ชวนรู้จักทักษะเพื่ออยู่รอดในศตวรรษที่ 21, สืบค้นจากhttps://research.eef.or.th/beyond-education/

ศิโรจน์ ผลพันธิน สุขุม เฉลยทรัพย์ จิระ จิตสุดา และวีณัฐ สกุลหอม. (2565). การเรียนรู้แบบผสมผสานและยืดหยุ่น: การจัดการเรียนแบบพลวัตในภาวะถดถอยทางการศึกษา, คุรุสภาวิทยาจารย์. Journal of Teacher Professional Development, 3(2), 18-29.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2559). การพัฒนาแบบสอบถามและการวัดทางจิตวิทยา, วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน, มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 3(1), 35-48.

สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2564). แนวทางการฟื้นตัวทางการศึกษาจากสถานการณ์ Covid-19 ที่มี

ประสิทธิภาพและเสมอภาค, กระทรวงศึกษาธิการ.

สกศ. (2564). รายงานการศึกษารูปแบบการจัดการเรียนรู้สำหรับนักเรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานที่ได้รับ

ผลกระทบจากสถานการณ์โควิค-19, กระทรวงศึกษาธิการ.

สกศ. (2565). มาตรการฟื้นฟูภาวะถดถอยการเรียนรู้, กระทรวงศึกษาธิการ.

Jinarat, P. (2022). Relationship between educational quality and learner success, Institute

research UMT.

Jinarat, P. (2023). Guidelines for developing educational management and learning management

using cultivate and block that affects the students' reflection on values and meanings,

UMT Research.

Jongrakvit, S. (2019). Organizing field trip model cooperated with discipline-based art education

on aesthetic support of primary school students, Journal of Education Studies, 47(1),

-433.

Nainuay, P., & Nillapun, M. (2021). The expansion of learning management model for Thai

literature based on active learning to enhance creative problem-solving skill and literacy

appreciation of high school students, Academic MCU Burirum Journal, 6(2), 128-143.

Nicholas, A.J. (2020). Preferred learning methods of generation z, Faculty and Staff-Articles &

Paper, 74.

Plook Explorer. (2566). ทักษะความคิดริเริ่มและเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง, สืบค้นจาก

https://www.trueplookpanya.com/knowledge/content/93422

Plook teacher. (2561). แนวทางการพัฒนาตนเองสู่ครูมืออาชีพ, สืบค้นจาก

https://www.trueplookpanya.com/dhamma/content/68689

Pranpa, M., & Theerawitthaylert, P. (2022). Eliminating discrepancies for increasing the validity of

social science research, Education Journal, 5(2), 1-7.

Sanook. (2656). ภาวะการเรียนรู้ถดถอย ภัยเงียบที่กำลังกัดเซาะสังคม, สืบค้นจาก

https://www.sanook.com/news/8614190/

Singkhornart, T. (2021). Deep learning video subtitle detection and recognition, thesis of

Mahasarakham University.

Sobkoo. (2564). Learning loss ภาวะการเรียนรู้ถดถอยของนักเรียนยุคโควิค-19, สืบค้นจาก

https://www.sobkroo.com/articledetail.asp?id=4264

Thinsandee, T., & Khunaprom, T. (2021). Educational disparities epidemic situations of infletious diseases, Covid-19, Ratanabuth Journal, 3(2), 63-68.

Worawanitcha, K. (2022). The development and adaptive learning management strategy in crisis situation to reduce the loss of knowledge and skills of students in Bangchoad Anusorn school under the office of Pathum Thani primary educational service area 1, Journal of Modern Learning Development, 7(6), 367-379.

Writer. (2022). การสุ่มตัวอย่าง Sampling แนะนำรูปแบบการสุ่มตัวอย่างในงานวิจัย, สืบค้นจาก

https://www.tpa.or.th/writer/read_this_book_topic.php?bookID=6055&pageid=8&read=true&count=true

Yanavetee, P.W. (2020). Philosophy of education and the university's educational management

model in Thai society, Journal of MCU Philosophy Review, 3(2), 1-17.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-29