สมรรถนะดิจิทัลผู้บริหารสถานศึกษาและความร่วมมือทางเครือข่ายทางการศึกษา ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน

ผู้แต่ง

  • พันทิพา ศรีวิชา ภานุมาศ จินารัตน์ และเปรมยุดา ลุสมบัติ -

คำสำคัญ:

สมรรถนะดิจิทัล, ความร่วมมือกับเครือข่ายทางการศึกษา, ผลสัมฤทธิ์นักเรียน

บทคัดย่อ

การพัฒนาผลสัมฤทธิ์นักเรียนอาจนำไปดำเนินการผ่านปัจจัยอื่นจำนวนมาก สมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษาและความร่วมมือเครือข่ายทางการศึกษาจึงเป็นความจำเป็นที่ต้องนำเสนอ ด้วยเหตุนี้ผู้วิจัยจึงได้รวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้บริหารและครูจำนวน 413 คน แล้วนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลวิจัยพบว่า สมรรถนะดิจิทัลมีอิทธิพลพยากรณ์ต่อผลสัมฤทธิ์นักเรียนได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .00 โดยมีผลทดสอบค่า t เท่ากับ 5.97 (Sig.000) นอกจากนี้ องค์ประกอบของสมรรถนะดิจิทัล เช่น ทักษะดิจิทัล การดัดแปลงและยืดหยุ่น และความเท่ากันมีอิทธิพลพยากรณ์ต่อผลสัมฤทธิ์นักเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .00 ที่ R2 เท่ากับ .29, t เท่ากับ 5.72 (Sig. 000), R2 เท่ากับ .25, t เท่ากับ 4.89 (Sig. 000) และ R2 เท่ากับ .23, t เท่ากับ 9.09 (Sig. 000) ตามลำดับ

Author Biography

พันทิพา ศรีวิชา ภานุมาศ จินารัตน์ และเปรมยุดา ลุสมบัติ, -

-

References

จีรวิทย์ มั่นคงวัฒนา. (2555). การบริหารระบบภาคีเครือข่ายสถานศึกษา, สืบค้นจากhttps://www.gotoknow.org/posts/344755

นฤมล จันทร์สุข จีระภา นะแส สิริมาส วงศ์ใหญ่ และชวนันท์ จันทร์สุข. (2560). การจัดการเรียนรู้แบบตกผลึกทาง

ปัญญา, วารสารการแพทย์โรงพยาบาลอุดรธาน๊, 25(3), 327-333.

ประสพชัย พสุนนท์. (2557). ความเชื่อมั่นของแบบสอบถามในการวิจัยเชิงปริมาณ, วารสารปาริชาต มหาวิทยาลัยทักษิณ, 27(1), 144-163.

พิสิฐ เทพไกรวัล. (2554). การพัฒนารูปแบบเครือข่ายความร่วมมือเพื่อคุณภาพการจัดการศึกษาในโรงเรียน

ประถมศึกษาขนาดเล็ก, ดุษฎีนิพนธ์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

วิชัย วงษ์ใหญ่ และมารุฒ พัฒผล. (2562). การพัฒนาทักษะและสร้างสรรค์นวัตกรรม, ศูนย์ผู้นำนวัตกรรมหลักสูตร

และการเรียนรู้, สืบค้นจาก http://www.curriculumandlearning.com/upload/Books

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). ระเบียบวิธีวิจัยสมัยใหม่, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์ อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.

วีระศักดิ์ จินารัตน์. (2564). มาตรฐานงานวิจัยเชิงปริมาณและการพัฒนา, พิมพ์ครั้งที่ 1; อุบลราชธานี, ยงสวัสดิ์

อินเตอร์กรุ๊ป จำกัด.

ศุภโชค สาระบุตร. (2564). การบริหารจัดการกลุ่มเครือข่ายสถานศึกษา, วารสารการบริหารการศึกษาบัวบัณฑิต,

-66.

สมบัติ ท้ายเรือคำ. (2559). การพัฒนาแบบสอบถามและการวัดทางจิตวิทยา, วารสารวิจัยเพื่อพัฒนาสังคมและ

ชุมชน, มหาวิทยาลัยราชภัฎมหาสารคาม, 3(1), 35-48.

สุภัทรชัย รินสาย. (2560). การบริหารภาคีเครือข่ายในการจัดการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย

อำเภอปัว จังหวัดน่าน, วิทยานิพนธ์ มหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์.

สุบิน ผลอนุรักษ์วงศ์. (2565). รูปแบบการมีส่วนร่วมในการบริหารจัดการศึกษาของภาคีเครือข่ายของศูนย์

การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัยอำเภอ ในจังหวัดลพบุรี, วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 16(1), 234-247.

อ่อนจันทร์ นุชบูรณ์. (2559). รูปแบบการบริหารจัดการเครือข่ายการเรียนรู้สู่องค์กรแห่งการเรียนรู้ในสถานศึกษา

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2, วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์, มจร., 4(2), 104-119.

Bagus, I., & Arjaya, A. (2023). Metacognitive Contribution to Biology Pre-service Teacher's Digital Literacy and Self-Regulated Learning during Online Learning. 16(1), 455-468.

Blair, N. (2012). Technology integration for the new 21st century learner. Principal, 91(3), 8-11.

Celebi M. (2018). "To Use or Not to Use-That Is the Question!" Using Facebook as an

Educational Tool in Recreational Leadership Course. Journal of Education and Training

Studies. 6(7).

Ferrari, A., (2012). Digital Competence in practice: An analysis of frameworks. Sevilla: Institute for Prospective Technological Studies. FERRARI, A., 2013. DIGCOMP: A Framework for Developing and Understanding Digital Competence in Europe. Luxembourg: Publications Office of the European Union.

Johnson, L.D., Neave, E.H., & Pazderke, B. (2003). Knowledge, innovation and share value,

Retrieved from

https://onlinelibrary.wiley.com/doi/abs/10.1111/1468-2370.00080

Lukitasari, M., Murtafiah, W., Ramdiah, S., Hasan, R., & Sukri, A. (2022). Constructing Digital Literacy Instrument and its Effect on College Students' Learning Outcomes. International Journal of Instruction, 15(2), 171-188.

Muammar S. Hashim K. F. B. and Panthakkan A. (2023). Evaluation of digital competence level among educators in UAE Higher Education Institutions using Digital Competence of Educators (DigComEdu) framework. Retrieved from https://doi.org/10.1007/s10639-022-11296-x.

Pletka, B. (2007). Educating the net generation. Santa Monica, CA. Santa Monica Press LLC.

Pranpa, M., & Theerawitthaylert, P. (2022). Eliminating discrepancies for increasing the validity of social science research, Education Journal, 5(2), 1-7.

Prensky, M. (2006). Listen to the natives. Educational Leadership. 63(4), 8-13.

Wungoeen, N. (2022). The development model to the administration of vocational innovation

and invention research to enhance student’s quality and social service of Thasae industrial and community educational college, CSNP Journal, 7(1), 118-124.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-06-29