พฤติกรรมการตั้งใจใช้ของครูในการใช้ปัญญาประดิษฐ์อัจฉริยะในการสอนในรูปแบบของความรู้ ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยี ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ศรีสะเกษ ยโสธร
คำสำคัญ:
พฤติกรรมตั้งใจใช้ของครู, การใช้ปัญญาประดิษฐ์, รูปแบบของความรู้ในเนื้อหาผนวก, วิธีสอนและเทคโนโลยีบทคัดย่อ
วิธีการพัฒนาหมายถึงวิธีการวิเคราะห์การใช้ปัญญาประดิษฐ์อัจฉริยะในการสอนในรูปแบบของความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยี และผู้วิจัยได้รวบรวมข้อมูลกลุ่มตัวอย่างที่เป็นครูจำนวน 394 คนแล้วนำกลับมาวิเคราะห์ผลด้วยสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณ
ผลวิจัยพบว่ามีอิทธิพลขององค์ประกอบการใช้ปัญญาประดิษฐ์ในการสอนในรูปแบบของความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีในด้าน การใช้ปัญญาประดิษฐ์อัจฉริยะในการสอนรูปแบบของความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยี ความคาดหวังของผลปฏิบัติงาน ความคาดหวังของผล เงื่อนไขการประสานงาน และอิทธิพลทางสังคม มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมความตั้งใจใช้อย่างมีนัยสำคัญที่คะแนนมาตรฐานเท่ากับ .23, .21, .16, .09 และ .12 (Sig .000) ตามลำดับ องค์ประกอบทั้ง 5 มีสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ที่ R2 เท่ากับ .34 มีความคลาดเคลื่อนสะสม .28 ความแปรปวน F เท่ากับ 40.27 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 กับมีความคลาดเคลื่อนตัวแปรเหตุเป็นอิสระต่อกัน จึงอาจสรุปได้ว่า องค์ประกอบของการใช้ปัญญาประดิษฐ์อัจฉริยะในการสอนรูปแบบของความรู้ในเนื้อหาผนวกวิธีสอนและเทคโนโลยีสามารถผีผลกระทบต่อพฤติกรรมความตั้งใจใช้ของครูที่แตกต่างกัน
References
จิรายุทธิ์ อ่อนศรี. (2562). แนวทางการจัดการเรียนการสอนแบบ STEM ตามแนวคิด TPACK Model. บทความ
วิชาการด้านการศึกษา. วิทยาลัยการอาชีพนวมินทราชูทิศ กรุงเทพมหานคร.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาศรีสะเกษ ยโสธร (2566). ประวัติความเป็นมา. ออนไลน์.
สืบค้นวันที่ 15 กันยายน 2566. จาก https://www.secondarysskyst.go.th/?page_id=1865
Afonso, C. M., Roldán Salgueiro, J. L., Sánchez Franco, M. J., & González, M.d.l. O. (2012). The moderator role of gender in the unified theory of acceptance and use of technology (UTAUT): A study on users of electronic document management systems. In En 7th international conference on partial least squares and related methods, Houston.
An Xin, Chai, S. C., Li, Y., Zhou, Y., Shen, Xi., Zheng, C., Chen, M. (2023). Modeling English teachers' behavioral intention to use artificial intelligence in middle schools. Education and Information Technologies.28, 5187-5208.
Chassignol M, Khoroshavin A, Klimova A, Bilyatdinova A (2018) Artificial Intelligence trends in education: a narrative overview. Procedia Comput Sci 136:16-24.
Chiu, T. K. F. (2021). A holistic approach to Artificial Intelligence (AI) curriculum for K- 12 schools. TechTrends, 65, 796-807.
Davis, F. (1989). Perceived usefulness, perceived ease of use, and user acceptance of information technology. MIS Quarterly, 13(3), 319-340.
Edwards, C., Edwards, A., Spence, P. R., & Lin, X. (2018). 1, teacher: Using artificial intelligence (AI) and social robots in communication and instruction. Communication Education, 67(4), 473 - 480.
Fang, L., Green, S.R., Baek, J.S., Lee, S.H., Ellett, F., Deer, E., Lieschke, G.J., Witztum, J.L., Tsimikas,
S., and Miller, Y.I. (2011). In vivo visualization and attenuation of oxidized lipid accumulation in hypercholesterolemic zebrafish. J. Clin. Invest. 121(12): 4861.
Koehler, M. J., Mishra, P., Kereluik, K., Shin, T. S., & Graham, C. R. (2014). The technological pedagogical con- tent knowledge framework. In J.M. Spector et al. (eds.), Handbook of Research on Educational Communi- cations and Technology. Springer New York.
Lee, C.H., Sung, H. G., Eslami, Moosa; Lee, Se Young; Song, Jae Y. ; Lee, Sung Sill; Ha, Jong K., 2007. Effects of Tween 80 pretreatment on dry matter disappearance of rice straw and cellulolytic bacterial adhesion. Asian-Aust. J. Anim. Sci., 20 (9): 1397-1401
Neff, K.D. (2009). Self-Compassion versus Global Self-Esteem: Two Different Ways of Relating to Oneself. Journal of Personality, 77, 23-50.
Ng, D. T. K., Leung, J. K. L., Chu, S. K. W., & Qiao, M. S. (2021). Conceptualizing AI literacy an exploratory review. Computers in Education: Artificial Intelligence, 2, Article 100041. https://doi.org/10.1016/j.caeai.2021.100041
Su, J., Zhong, Y., & Ng, D. T. K. (2022). A meta-review of literature on educational approaches for teaching Al at the K-12 levels in the Asia-Pacific region. Computers in Education: Artificial Intelligence, 3, Article 100065. https://doi.org/10.1016/j. cheai.2022.100065
Venkatesh, V., Morris, M. G., Davis, G. B., & Davis, F. D. (2003). User acceptance of information technology: Toward a unified view. MIS Quarterly, 27(3), 425-478.